Free Essay

Econ Th 2012

In: Business and Management

Submitted By sean408
Words 8257
Pages 34
XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกและแนวโนมป 2555
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
 เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี ประมาณการเศรษฐกิจปี 2555 2555 2554 (% YOY) Q1 ประมาณการ Q3 Q4 ทั้งปี 0.3 5.5-6.5 GDP (ณ ราคาคงที่) 3.7 -8.9 0.1 5.2 การลงทุนรวม 3.3 -3.6 3.3 12.3 (ณ ราคาคงที่) 9.2 ภาคเอกชน 9.1 -1.3 7.2 13.0 -9.6 ภาครัฐ -10.9 -12.1 -8.7 10.0 1.3 2.0 การบริโภครวม 2.8 -3.0 4.4 (ณ ราคาคงที่) 2.7 ภาคเอกชน 2.4 -2.8 1.3 4.5 1.1 -1.6 ภาครัฐบาล 4.9 -4.1 3.5 -4.0 27.3 -5.2 16.4 15.1 มูลค่าการส่งออก สินค้า (US$) -5.0 ปริมาณ 19.7 -7.5 10.2 11.8 9.6 22.3 มูลค่าการนําเข้าสินค้า 33.4 12.2 24.7 (US$) 3.5 ปริมาณ 19.5 3.7 13.3 16.5 0.6 3.5 2.3 3.4 0.7 ดุลบัญชีเดินสะพัด ต่อ GDP (%) 3.4 3.5-4.0 เงินเฟ้อ 4.1 4.0 3.8 0.7 0.7 0.6 0.7 0.7 อัตราการว่างงาน

แถลงขาว 9.30 น. 21 พฤษภาคม 2555

2555 ขยายตัวร้อยละ 0.3 โดยมีปจจัยสําคัญจากการฟืนตัวของ ั ้ ภาคการผลิต การบริโภค การลงทุน และการท่องเที่ยว โดยการผลิตภาคอุตสาหกรรม และ การส่งออกปรับตัวดีขน ึ้  ่ อ ปรั บ ปั จ จั ย ฤดู ก าลออกแล้ ว เศรษฐกิ จ ไทยขยายตั ว จากไตรมาสสุ ด ท้ า ยของปี 2554 เมื ร้อยละ 11.0 (%QoQ SA)  การประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2555 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.5 – 6.5 จาก การขับเคลื่อนของอุปสงค์ภายในประเทศและการฟื้นตัวของภาคการผลิต โดยคาดว่าการ บริโภคของครัวเรือนและการลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 4.5 และ 12.3 ตามลําดับ ในขณะที่ มูลค่าการส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 15.1 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ในช่วงร้อยละ 3.5 – 4.0 อัตราการว่างงานร้อยละ 0.7 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 0.7 ของ GDP  ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจในปี 2555 ได้แก่ (1) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและ เร่งรัดการดําเนินการตามแผนฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศเพื่อชดเชยการหดตัวของงบลงทุน ภาครัฐในไตรมาสแรกในช่วงที่โครงการยังอยู่ในระหว่างการเตรียมความพร้อม รวมทั้งการสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน พร้อมกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันในระยะยาว (2) การแก้ไขปัญหาให้กับภาคการผลิตที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ํา ท่ ว มที่ ยั ง มี ค วามล่ า ช้ า ในการฟื้ น ตั ว โดยเฉพาะการผลิ ต ในกลุ่ ม สิ น ค้ า เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ ทีการใช้กําลังการผลิตยังอยูในระดับต่ํา รวมทังภาคการผลิตทีใช้แรงงานเข้มข้นและ ่ ่ ้ ่ ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางเศรษฐกิจในประเทศที่เป็ นตลาดส่งออกโดยเฉพาะในกลุ่ ม อุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องหนัง (3) การดูแลและช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจาก มาตรการการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ํา โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs ที่ใช้แรงงานเข้มข้น โดย การเร่งรัดประชาสัมพันธ์ให้มการใช้ประโยชน์จากมาตรการช่วยเหลือ SMEs เพือลดแรงกดดันด้าน ี ่ ต้นทุนการผลิตของผูประกอบการและสนับสนุนการยกระดับประสิทธิภาพการผลิต การพิจารณา ้ มาตรการช่วยเหลือเพิ่มเติมสําหรับกลุ่มผู้ประกอบการที่ไม่อยู่ในข่ายที่จะได้รับประโยชน์จาก มาตรการดังกล่าว การเตรียมการเพื่อช่วยเหลือแรงงานที่ถูกเลิกจ้างและลดชั่วโมงการทํางาน ในช่วงของการปรับตัว รวมถึงการเร่งรัดโครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ได้รับความ เสียหาย ปี 2554 ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึงปัจจุบนมีอตราการเบิกจ่ายอยูเ่ พียงประมาณ ่ ั ั ร้อยละ 0.97 จากวงเงินรวม (4) การแก้ไขปัญหาราคาสินค้า โดยเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภคของ ครัวเรือนให้มความสอดคล้องและเป็นธรรมตลอดห่วงโซ่การผลิตตังแต่ผผลิตวัตถุดบ ผูคาคนกลาง ี ้ ู้ ิ ้้ และผู้บริโภค ซึ่งจะมีผลต่อค่าครองชีพของประชาชนและภาวะเงินเฟ้อของประเทศ รวมถึง การประสานแผนงานของหน่วยงานที่เกียวข้องในการวางแผนล่วงหน้า เพือให้การสนับสนุนด้าน ่ ่ การผลิต การแปรรูป และการตลาดของสินค้าเกษตร สอดคล้องกับความผันผวนตามฤดูกาลของ แต่ละสินค้า และลดความผันผวนของราคา (5) การดําเนินนโยบายการเงินและอัตราแลกเปลียนให้ ่ สอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมทางเศรษฐกิจ แม้วาการขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงทีเ่ หลือของปีมี ่ แนวโน้มเร่งตัวขึนแต่เป็นการขยายตัวทีได้รบปัจจัยสนับสนุนส่วนหนึงจากฐานการผลิตทีต่ําในปีที่ ้ ่ ั ่ ่ ผ่านมา นอกจากนันการขยายตัวของภาคการผลิตในช่วงที่เหลือของปียงต้องเผชิญกับแรงกดดัน ้ ั ด้านค่าแรงทีเ่ พิมสูงขึนและความเสียงจากปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจในยุโรป ภายใต้แนวโน้มดังกล่าว ่ ้ ่ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีต้องอาศัยการดํ าเนินนโยบายการเงินและอัตรา แลกเปลียนทีเ่ อืออํานวยต่อการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ่ ้ http://www.nesdb.go.th สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 962 ถนนกรุงเกษม เขตปอมปราบฯ กรุงเทพฯ 10100

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
เศรษฐกิจไตรมาสแรกและแนวโน้มปี 2555
เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรก ขยายตัวร้อยละ 0.3 เทียบกับที่หดตัวร้อยละ 8.9 ในไตรมาสที่ผ่านมา โดยมีปัจจัย สําคัญจากการใช้จ่ายภาคครัวเรือ น การลงทุนภาคเอกชน และการฟื้นตัวของภาคการผลิต และบริการ ในขณะที่การส่งออก ยังหดตัว แต่เริ่มปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสที่แล้ว

NESDB

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรก ปี 2555 (1) การใช้จ่ายภาคครัวเรือน ขยายตัวร้อยละ 2.7 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 2.8 เป็นผลมา จากการใช้จ่ายเพื่อซ่อมแซมทรัพย์สินและซื้อสินค้าเพื่อทดแทนส่วนที่ได้รับความเสียหายจากสถานการณ์ อุทกภัยในปี 2554 รวมทั้งความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆ ของ ภาครัฐ เช่น มาตรการคืนเงินภาษีรถยนต์คันแรก ทําให้ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ระดับ 65.3 เทียบกับ 62.3 ในไตรมาสที่แล้ว และมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนอีกส่วน หนึ่งจากมาตรการลดค่าครองชีพของรัฐ การปรับขึ้นอัตราค่าจ้างขั้นต่ํา และเงินเดือนข้าราชการ อย่างไรก็ ตามผู้บริโภคยังมีความกังวลต่อสถานการณ์ค่าครองชีพที่มีแนวโน้มสูงขึ้น (2) การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 9.2 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 1.3 เป็นผลมาจาก การขยายตัวของการลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรเพื่อซ่อมแซมและทดแทนความเสียหายที่เกิดจากอุทกภัย สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นของนักธุรกิจ (Business Sentiment Index : BSI) ที่ปรับตัวดีขึ้นไปอยู่เหนือ ระดับเกณฑ์ 50 ทั้งในช่วงไตรมาสแรก (ระดับ 53.0) และช่วง 3 เดือนข้างหน้า (ระดับ 55.9) (3) ภาคการท่องเที่ยว จํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในไตรมาสนี้ มีจํานวน 5.7 ล้านคน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนร้อยละ 7.1 สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวจํานวน 258,102 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 9.7 อัตราการเข้าพักอยู่ที่ระดับร้อยละ 66.8 ปรับตัวสูงขึ้นจากร้อยละ 64.7 ในไตรมาส เดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยจํานวนนักท่องเที่ยวจากจีน ออสเตรเลีย และฝรั่งเศส มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราที่ สูง ส่งผลให้สาขาโรงแรม ภัตตาคาร ขยายตัวร้อยละ 5.2 ปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 5.3 ในไตรมาสที่ ผ่านมา (4) ภาคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 2.8 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 1.6 เนื่องจากการ ขยายตัวของผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญ เช่น ปาล์มน้ํามัน มันสําปะหลัง และยางพารา ในขณะที่ผลผลิต ข้าวเปลือกลดลง อย่างไรก็ตาม ราคาสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 12.2 ทําให้รายได้เกษตรกรหดตัวร้อยละ 10.9 เทียบกับไตรมาสที่แล้วที่หดตัวร้อยละ 2.3

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

2

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
(5) ภาคอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ 4.2 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 21.6 เนื่องจากโรงงาน อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัยสามารถเริ่มทําการผลิตได้อีกครั้ง โดยอัตราการใช้กําลัง การผลิตรวมอยู่ที่ระดับร้อยละ 63.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 46.3 ในไตรมาสก่อน สอดคล้องกับดัชนีความ เชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมใน 3 เดือนข้างหน้าของเดือนเมษายนที่ปรับเพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ระดับ 112.6 เทียบกับ ระดับ 109.5 ในเดือนมีนาคม 2555 (6) ภาคการส่งออก มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสนี้คิดเป็นมูลค่า 53,803 ล้านดอลลาร์ สรอ. หดตั ว ร้ อ ยละ 4.0 ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น จากไตรมาสก่ อ นที่ ห ดตั ว ร้ อ ยละ 5.2 เนื่ อ งจากการส่ ง ออกไป สหรัฐอเมริกา และอาเซียน (9 ประเทศ) ยังขยายตัวได้ดีในอัตราร้อยละ 2.1 และ 9.2 ตามลําดับ ขณะที่การ ส่งออกไปยังตลาดสําคัญ เช่น สหภาพยุโรป (15 ประเทศ) และญี่ปุ่นยังคงหดตัวร้อยละ 16.9 และ 7.0 ตามลําดับ ราคาการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2555 สศช. คาดว่าภาวะเศรษฐกิจไทยในปี 2555 จะขยายตัวได้อย่างแข็งแกร่งในช่วงร้อยละ 5.5-6.5 โดยมีปัจจัย ขั บ เคลื่ อ นจากการเร่ ง ตั ว ของการผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรม การฟื้ น ตั ว ของการอุ ป โภคบริ โ ภคและการลงทุ น ภายในประเทศ ในขณะที่แรงกดดันต่อภาวะเงินเฟ้อเริ่มผ่อนคลายเนื่องจากราคาน้ํามันมีแนวโน้มลดลงในช่วงครึ่ง หลังของปี แม้ว่าจะยังมีความเสี่ยงเรื่องวิกฤตเศรษฐกิจในยุโรปแต่คาดว่าเศรษฐกิจโลกโดยรวมยังมีแนวโน้ม ขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง คาดว่าในปี 2555 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 3.5 – 4.0 การบริโภคครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 4.5 การลงทุน รวมขยายตั วร้ อ ยละ 12.3 มู ล ค่ า การส่ ง ออกสิ นค้ า ในรู ป ดอลลาร์ สรอ. ขยายตั ว ร้อ ยละ 15.1 และดุ ล บั ญ ชี เดินสะพัดเกินดุลประมาณร้อยละ 0.7 ของ GDP

NESDB

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

3

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2555 ในด้านต่างๆ เป็นดังนี้
 ด้านการใช้จาย ่

NESDB

การใช้จ่ายครัวเรือน: ในไตรมาสแรกของปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 2.7 ปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่ อ น สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง การฟื้ น ตั ว จากวิ ก ฤตอุ ท กภั ย ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากการใช้ จ่ า ยซื้ อ สิ น ค้ า เพื่อทดแทนทรัพย์สินที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยเพิ่มขึ้น โดยได้รับแรงสนับสนุนส่วนหนึ่งจากมาตรการ ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐและสถาบันการเงินต่างๆ ประกอบกับ ความต้องการซื้อสินค้าที่สะสมมาจากช่วงก่อนหน้าอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะรถยนต์ที่รัฐบาลมีมาตรการ คืนเงินภาษีรถยนต์คันแรก โดยยอดจําหน่ายรถยนต์ในไตรมาสนี้หดตัวเพียงร้อยละ 17.8 ปรับตัวดีขึ้นจากที่ หดตัวร้อยละ 54.4 ในไตรมาสก่อน กําลังการผลิตของผู้ผลิตรถยนต์ต่างๆ เริ่มกลับเข้าสู่สภาวะปกติ และ ผู้ผลิตรถยนต์ได้รับอนุญาตให้สามารถนําเข้ารถยนต์สําเร็จรูปบางส่วนจากต่างประเทศมาชดเชยการผลิตที่ ต้องชะงักงันไปในช่วงน้ําท่วมทําให้สามารถส่งมอบรถยนต์ได้ทันกับยอดค้างจองที่อยู่ในระดับสูง ในขณะที่ ยอดจําหน่ายรถจักรยานยนต์ในไตรมาสนี้ขยายตัวร้อยละ 11.8 สอดคล้องกับความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดี ขึ้น โดยในไตรมาสนี้ความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมเท่ากับ 65.3 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสก่อนที่อยู่ที่ระดับ 62.3 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและธุรกิจหลังน้ําท่วมที่เริ่มปรับตัวดีขึ้นเป็นลําดับ ทั้งนี้ ผู้บริโภคยังคงมีความกังวลต่อสถานการณ์ค่าครองชีพที่อาจปรับตัวสูงขึ้นตามราคาพลังงานที่มีแนวโน้ม ปรับตัวสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยที่สนับสนุนการใช้จ่ายภาคครัวเรือนในระยะต่อไป ได้แก่ การจ้างงานที่ ยังอยู่ในเกณฑ์ดี รายได้ภาคครัวเรือนที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ําและเงินเดือน ข้าราชการ และมาตรการลดภาระค่าครองชีพของรัฐบาล

การใช้จ่ายครัวเรือนขยายตัว ร้อยละ 2.7 สะท้อนให้เห็นถึง การฟื้นตัวจากวิกฤตอุทกภัย

%YoY การใช้จ่ายภาคเอกชน สินค้าคงทน สินค้ากึ่งคงทน สินค้าไม่คงทน - อาหาร - มิใช่อาหาร บริการ ที่มา: สศช.

2552 ทั้งปี -1.1 -7.1 -8.8 0.7 0.6 0.7 2.2

การใช้จ่ายภาคครัวเรือน 2553 2554 ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 4.8 1.3 3.3 2.7 25.1 3.3 23.6 3.6 6.7 3.4 4.5 5.7 1.8 1.6 2.0 3.4 0.5 2.0 2.0 4.4 2.7 1.3 2.1 2.7 1.4 -1.1 -5.5 0.0

Q3 2.4 10.2 4.8 1.8 1.8 1.7 -1.7

2555 Q4 Q1 -2.8 2.7 -21.7 -3.2 -1.0 3.0 -0.9 5.3 -0.3 2.5 -1.2 7.4 2.0 0.0

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

4

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 9.2 ปรับตัวดีขนจากไตรมาสก่อนทีหดตัวร้อยละ 1.3 ตามการขยายตัว ึ้ ่ ของการลงทุนในเครืองมือเครืองจักรเป็นสําคัญ โดยการลงทุนในเครืองมือเครืองจักรขยายตัวร้อยละ 11.2 จาก ่ ่ ่ ่ ไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 2.4 เนื่องจากมีการเร่งลงทุนเพื่อชดเชยและซ่อมแซมความเสียหายจากอุทกภัย เมื่ อ ปลายปี ที่ แล้ ว ส่ ง ผลให้ก ารนํ า เข้า สิ นค้ า ทุน ในไตรมาสนี้ เ พิ่ม ขึ้ นร้ อ ยละ 14.4 โดยเฉพาะเครื่ อ งจั ก ร อุตสาหกรรม เช่นเดียวกับปริมาณการจําหน่ายรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ในประเทศที่ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 47.0 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่หดตัวมากถึงร้อยละ 62.4 จากการขยายตัวของความต้องการในตลาดที่ ่ เพิ่มสูงขึ้น ส่วนการลงทุนด้านการก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 2.1 โดยยอดจําหน่ายวัสดุกอสร้างขยายตัวจากการ เร่งซ่อมแซมสิงก่อสร้างทีได้รบความเสียหายจากอุทกภัย ่ ่ ั ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจในไตรมาสนี้เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 53.0 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนซึ่งอยู่ที่ระดับ 41.4 เช่นเดียวกับดัชนีความเชือมันทางธุรกิจ 3 เดือนข้างหน้าปรับตัวเพิมขึนจากระดับ 51.4 ในไตรมาสก่อนหน้า มา ่ ่ ่ ้ อยู่ที่ระดับ 55.9 สะท้อนถึงความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการที่ปรับตัวดีขึ้นภายหลังสถานการณ์อุทกภัยได้ คลี่คลายลง ถึงแม้ว่าจะยังคงมีความกังวลต่อแรงกดดันด้านต้นทุนจากการปรับขึ้นอัตราค่าแรงขั้นต่ํา และการ เพิ่มขึ้นของราคาพลังงาน ทั้งนี้ ความชัดเจนและความต่อเนื่องของนโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ รวมทั้งการ ่ ่ ั เร่งลงทุนตามแผนการบริหารจัดการน้ําของภาครัฐ ถือเป็นปัจจัยสําคัญในการสร้างความเชือมันแก่นกลงทุนทั้ง ในและต่างประเทศ

NESDB
การลงทุนภาคเอกชนปรับตัว ดีขึ้นตามการขยายตัวของ การลงทุนในเครื่องมือ เครื่องจักรเป็นสําคัญ

การส่งออก: มูลค่าการส่งออกสินค้าในไตรมาสแรกของปี 2555 คิดเป็นมูลค่า 53,803 ล้านดอลลาร์ สรอ. (1,665,697 ล้านบาท) หดตัวร้อยละ 4.0 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 5.2 โดยปริมาณการ ส่งออกลดลงร้อยละ 5.0 ขณะที่ราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสที่สี่ ของปี 2554 และปรับผลของฤดูกาลออก มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวถึงร้อยละ 12.2

มูลค่าการส่งออกใน รูปเงินดอลลาร์ สรอ. ลดลง ร้อยละ 4.0 คิดเป็นมูลค่า 53,803 ล้านดอลลาร์ สรอ.

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

5

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรหดตัวร้อยละ 25.4 โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 19.6 จากการลดลงของ ปริมาณการส่งออกข้าวเป็นหลักจากปัญหาอุทกภัย และความสามารถในการแข่งขันด้านราคาทีลดลงเนืองจาก ่ ่ ราคาข้าวของไทยมีราคาสูงกว่าประเทศคู่แข่งที่สําคัญ เช่น เวียดนาม และอินเดีย รวมไปถึงการลดลงของ ปริมาณการส่งออกมันสําปะหลัง ขณะที่ราคาการส่งออกสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 7.3 จากราคาการส่งออก มันสําปะหลังและยางพารา จากความต้องการซื้อในตลาดโลกที่ชะลอตัวลง ในขณะที่การส่งออกน้ําตาลยังคง ขยายตัวได้ดี สินค้าอุตสาหกรรมทั้งปริมาณและมูลค่าหดตัวร้อยละ 2.7 และ 1.2 ตามลําดับ ปรับตัวดีขึ้นจาก ไตรมาสก่อนหน้า ทีหดตัวร้อยละ 7.6 และ 5.3 ตามลําดับ แสดงให้เห็นถึงการเริ่มฟืนตัวของภาคการผลิต โดย ่ ้ การส่งออกยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 2.6 จากที่หดตัวลงร้อยละ 20.4 ในไตรมาสก่อนหน้า สินค้าส่งออกสําคัญ เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าหดตัวร้อยละ 8.3 และ 7.9 ตามลําดับ ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาส ก่อนหน้าทีหดตัวร้อยละ 29.0 และ 17.6 ตามลําดับ ่
ตลาดส่งออกทีสําคัญของไทย ่ 2552 2553 2554 (%YOY) ทั้งปี ทั้งปี ทั้งปี 21.3 29.8 19.7 36.5 38.5 10.1 33.2 9.2 28.1 8.2 17.9 12 22.5 25.5 7.6 27.6 -14.7 17.2 Q1 21.3 30.2 24.1 20.6 70.3 15.5 24.8 -1.3 28.1 Q2 17.5 27.2 20.3 23.5 30.1 14.6 22.7 -34.5 18.5 Q3 5.2 21.0 25.5 34.7 37.9 16.4 62.8 10.8 29.0 Q4 -7.7 -3.2 -18.3 11.0 -18.8 -15.1 2.4 -27.3 -4.8 Q1 2.1 -7.0 -16.9 9.2 -35.0 6.5 1.4 -9.6 -3.9 สหรัฐอเมริกา -17.8 ญี่ปุ่น -21.8 สหภาพยุโรป (15) -24.5 อาเซียน (9) -19.1 ฮ่องกง -5.6 ตะวันออกกลาง -7.8 จีน -0.4 ออสเตรเลีย 7.5 รวมสินค้าออก -14.3 รวมสินค้าออกตาม -13.9 สถิติดุลการชําระเงิน ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 2555 สัดส่วน Q1/55 (ร้อยละ) 10.0 10.1 8.5 25.4 5.6 5.3 11.6 3.6 100.0 98.5

NESDB

28.4 16.4 27.4 18.3 27.3 -5.2 -4.0

ตลาดส่งออก: หดตัวลงในตลาดหลัก โดยเฉพาะ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป (15) ที่มูลค่าการส่งออกลดลง ร้อยละ 7.0 และ 16.9 ตามลําดับ ในขณะที่ตลาดสหรัฐอเมริกา และอาเซียน (9) ขยายตัวร้อยละ 2.1 และ 9.2 ตามลํ า ดั บ ตลาดส่ ง ออกอื่ น ๆ มี มู ล ค่ า การส่งออกหดตั ว ในหลายตลาด ได้ แ ก่ ฮ่ อ งกง ไต้ ห วั น และ ออสเตรเลีย ยกเว้นอินเดีย และจีน ที่ยังคงขยายตัวแต่ในอัตราที่ชะลอตัวลง การนําเข้า: ทั้งมูลค่า ปริมาณและราคาขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่ผ่ า นมา มูล ค่ า การนํา เข้ าในรูป เงิ น ดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสแรกของปี 2555 คิ ด เป็น มู ลค่ า 52,630 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 9.6 ชะลอลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 12.2 ราคานําเข้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.9 ปริมาณการนําเข้าขยายตัวร้อยละ 3.5 ชะลอตัวจากร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อน การชะลอตัว ของการนําเข้าในไตรมาสแรกเป็นผลมาจากการชะลอตัวของสินค้าทุนเป็นหลัก ในขณะที่สินค้าวัตถุดิบและ สินค้าขั้นกลาง และสินค้าอุปโภคบริโภค เริ่มแสดงสัญญาณของการฟื้นตัวจากวิกฤตอุทกภัย เมื่อปรับปัจจัยฤดูกาลออกแล้ว และพิจารณาเป็นรายหมวด พบว่า สินค้านําเข้าเกือบทุกหมวดขยายตัวใน อัตราที่เพิ่มขึ้น ยกเว้นสินค้าทุนที่ขยายตัวในอัตราที่ชะลอตัวลง โดยสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง มี มูลค่าขยายตัวร้อยละ 6.7 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 1.3 สินค้าที่มีมูลค่าการนําเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ เชื้อเพลิง และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า และชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สินค้าทุน มูลค่าขยายตัวร้อยละ 13.7 ชะลอลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 15.7 ในไตรมาสก่อน สินค้าทุนที่ยังคง ขยายตัวได้ดี ได้แก่ เครื่องจักรอุปกรณ์และเครื่องใช้ประกอบสินค้าทุน เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร โทรคมนาคม เครื่องจักรกลอื่นๆ และชิ้นส่วนสินค้าทุน สินค้าอุปโภคบริโภค มูลค่าขยายตัวร้อยละ 14.7
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
6

มูลค่าการนําเข้า ในรูปเงิน ดอลลาร์ สรอ. ขยายตัว ร้อยละ 9.6 ชะลอลงจาก ไตรมาสก่อน สินค้านําเข้า เกือบทุกหมวดขยายตัวใน อัตราทีเ่ พิ่มขึ้น ยกเว้นสินค้า ทุนที่ขยายตัวในอัตราที่ ชะลอลง

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 14.3 ตามการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่ายภาคครัวเรือน รายการ นําเข้าที่ขยายตัวสูง เช่น อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องประดับ (ยกเว้น ไข่มุกและอัญมณี) ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง

NESDB

อัตราการค้า (Term of Trade) ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า โดยราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 ขณะที่ ราคานําเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 โดยเฉพาะราคาน้ํามัน ทําให้อัตราการค้าในไตรมาสแรกของปี 2555 หดตัว ร้อยละ 4.5 เป็นการหดตัวติดต่อกันห้าไตรมาส นับจากไตรมาสแรกของปี 2554

อัตราการค้าหดตัวร้อยละ 4.5 จากราคานําเข้าที่สงขึ้น ู

ดุลการค้า: เกินดุลเพิ่มขึ้น โดยเกินดุล 1,173 ล้านดอลลาร์ สรอ. (36,548 ล้านบาท) สูงกว่าการเกินดุล 993 ล้านดอลลาร์ สรอ. (30,617 ล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า
 ด้านการผลิต:

ดุลการค้าเกินดุลเพิ่มขึ้น

สาขาเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 2.8 เนื่องจากผลผลิตปาล์มน้ํามัน มันสําปะหลัง และยางพาราขยายตัว ร้อยละ 55.2 6.1 และ 4.3 ตามลําดับ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้ผลผลิตปาล์มน้ํามัน มันสําปะหลัง และยางพารา อีกส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของมันสําปะหลังสูงขึ้น ถึงแม้ว่าข้าว นาปีบางส่วนจะได้รับความเสียหายจากอุทกภัยในช่วงปลายปีที่ผ่านมาจนทําให้ผลผลิตข้าวเปลือกลดลงร้อย ละ 26.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนก็ตาม ราคาสินค้าเกษตรลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 12.2 เป็นผลมาจากราคามันสําปะหลัง ยางพารา และปาล์มน้ํามันที่ลดลงร้อยละ 32.5 32.4 และ 22.9 ตามลําดับ เนื่องจากความต้องการสั่งซื้อมันสําปะหลัง และยางพาราจากจีนลดลงตามการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ นอกจากนีจนยังนําเข้าผลิตภัณฑ์มนสําปะหลัง ้ี ั จากเวี ย ดนามและพม่ า ซึ่ ง มี ร าคาถู ก กว่ า ทดแทนการนํ า เข้ า จากไทยบางส่ ว น อี ก ทั้ ง ผู้ ป ระกอบการใน อุตสาหกรรมยานยนต์ภายในประเทศชะลอการซื้อยางพาราเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนแรงงานและการ ติดตามดูผลจากมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางพาราของรัฐบาล ส่วนราคาปาล์มน้ํามันลดลง เนื่องจาก
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
7

สาขาเกษตรกรรมขยายตัว ร้อยละ 2.8 ตามการขยายตัว ของผลผลิตปาล์มน้ํามัน มัน สําปะหลัง และยางพารา

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ราคาในช่วงเดียวกันของปีกอนสูงผิดปกติจากปัญหาผลผลิตตึงตัว อย่างไรก็ตามราคาปาล์มน้ํามันในไตรมาสนี้ ่ ยังอยู่ในเกณฑ์ดีที่กิโลกรัมละ 5.4 บาท เทียบกับราคาเฉลี่ย 5 ปีที่ผ่านมาซึ่งอยู่ที่กิโลกรัมละ 4.4 บาท อย่างไรก็ตามราคาข้าวเปลือกเจ้าภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 ส่วนหนึ่งเป็นผลทางอ้อมจากโครงการรับ จํานําข้าวเปลือก1 ที่มีส่วนช่วยพยุงราคาข้าวในประเทศ ในขณะที่ราคาข้าวในตลาดโลกมีแนวโน้มลดลง การลดลงของราคาสินค้าเกษตรส่งผลทําให้รายได้เกษตรกรหดตัวร้อยละ 10.9 เทียบกับที่หดตัวร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อน
%YoY ผลผลิตสินค้าเกษตร ราคาสินค้าเกษตร ราคาเฉพาะพืชผล รายได้เกษตรกร ที่มา: สศก. 2552 ทั้งปี 1.1 -9.4 -12.1 -8.4 ตัวชี้วัดภาคเกษตรกรรม 2553 ทั้งปี ทั้งปี Q1 -2.5 5.1 11.6 25.2 12.2 25.6 30.3 12.3 29.7 22.1 17.9 40.1 2554 Q2 Q3 7.3 -1.6 17.8 7.7 18.0 6.5 26.4 6.0 Q4 -1.7 -0.6 -2.8 -2.3 2555 Q1 1.4 -12.2 -14.4 -10.9

NESDB

สาขาอุตสาหกรรมหดตัวร้ อยละ 4.2 จากที่ห ดตัวร้อ ยละ 21.6 ในไตรมาสที่ผ่ านมา เนื่ อ งจากโรงงาน อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ทั้งที่อยู่ในพื้นที่และนอกพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในภาคกลาง สามารถเริ่มเดินเครื่องจักร ผลิตสินค้าได้อีกครั้งหนึ่ง ส่งผลให้โรงงานที่เป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ที่ไม่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยสามารถ เริ่มเดินเครื่องจักรสําหรับการผลิตได้อีกครั้งหนึ่งด้วย โดยบางอุตสาหกรรมต้องเร่งกําลังการผลิต เพื่อชดเชย ส่วนที่ควรผลิตได้ในช่วงที่เกิดอุทกภัย ทั้งนี้แนวโน้มการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมที่สําคัญ เช่น อุตสาหกรรม ยานยนต์คาดว่าจะสามารถกลับมาผลิตได้เต็มกําลังการผลิตอีกครั้งในไตรมาสที่สอง อย่างไรก็ตามโรงงาน อุตสาหกรรมที่อยู่ในช่วงฟื้นฟู ซึ่งจําเป็นต้องติดตั้งเครื่องจักรที่ต้องการความแม่นยําสูง เช่น HDD ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ คาดว่าจะสามารถเริ่มผลิตได้อีกครั้งในไตรมาสที่สาม สําหรับดัชนีสินค้าสําเร็จรูปคงคลังในไตรมาสแรกอยู่ที่ระดับ 183.0 เทียบกับระดับ 175.0 ในไตรมาสก่อน หน้ า หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 4.6 เป็ น การเพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ชดเชยส่ ว นที่ จํ า หน่ า ยออกไปในช่ ว งน้ํ า ท่ ว มปี 2554 เนื่องจากการหยุดการผลิตในช่วงดังกล่าว

สาขาอุตสาหกรรมหดตัว ร้อยละ 4.2 เนืองจาก ่ ผลกระทบต่อเนืองจาก ่ อุทกภัยในพื้นทีและนอก ่ พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมใน ภาคกลาง แต่มีแนวโน้ม ปรับตัวดีขึ้นตามลําดับ

1

ระยะเวลาดําเนินโครงการ: ข้าวนาปี ระยะเวลารับจํานํา 7 ตุลาคม 2554 – 29 กุมภาพันธ์ 2555 (ภาคใต้ 1 กุมภาพันธ์ 2555 – 31 กรกฎาคม 2555) : ข้าวนาปรัง ระยะเวลารับจํานํา 1 มีนาคม – 15 กันยายน 2555 (ภาคใต้ 1 กรกฎาคม – 31 ตุลาคม 2555) : ระยะเวลาไถ่ถอน 4 เดือนนับจากเดือนที่รับจํานํา

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

8

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~

NESDB

อัตราการใช้กําลังการผลิตในไตรมาสแรกของปีอยู่ที่ร้อยละ 63.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 46.3 ในไตรมาสที่ผ่าน มา เนื่องจาก (1) การฟื้นตัวของโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย (2) ความต้องการสะสม จากช่วงอุทกภัย และการเร่งซ่อมแซมที่อยู่อาศัยของประชาชน และ (3) การเพิ่มขึ้นของอํานาจซื้อจากการ ปรั บ ขึ้ น เงิ น เดื อ นราชการและอั ต ราค่ า จ้ า งขั้ น ต่ํ า 300 บาท โดยอั ต ราการใช้ กํ า ลั ง การผลิ ต ของกลุ่ ม อุตสาหกรรมที่มีความสําคัญสูงได้ปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น การผลิตยานยนต์ อยู่ในระดับร้อยละ 96.9 จากร้อยละ 31.8 การผลิตอุปกรณ์และเครื่องอุปกรณ์วิทยุ โทรทัศน์ และการสื่อสาร เท่ากับร้อยละ 41.7 จากร้อยละ 22.3 การผลิตเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 86.4 จากร้อยละ 71.1 เป็นต้น ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้าอยู่ที่ระดับ 112.6 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 109.5 ในเดือนมีนาคม เนื่องจาก ปริมาณยอดคําสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม และปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น สาขาก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 0.8 ปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 5.9 ในไตรมาสที่ผ่านมา เป็นผลมาจาก (1) การก่อสร้างภาคเอกชนที่ขยายตัวร้อยละ 2.1 จากการซ่อมแซมในส่วนของที่อยู่อาศัยและโรงงานที่ได้รับ ความเสียหายจากอุท กภัย รวมทั้งการฟื้นตัวของการก่อสร้างต่างๆ ที่ชะงักในช่วงน้ําท่วม และ (2) การ ก่อสร้างภาครัฐปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 15.9 ในไตรมาสที่ผ่านมา เป็นหดตัวร้อยละ 1.0 ในไตรมาสนี้ อย่างไรก็ตาม พื้นที่รับอนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลรวมทั้งประเทศยังคงหดตัวร้อยละ 26.5 ส่วนหนึ่งเกิด จากการก่อสร้างที่ชะงักในช่วงน้ําท่วม ส่งผลให้ผู้ประกอบการไม่สามารถดําเนินการตามกรอบระยะเวลาที่ วางแผนไว้ จึงชะลอการขออนุญาตก่อสร้างใหม่ออกไป ราคาวัสดุกอสร้างในไตรมาสนีขยายตัวร้อยละ 4.7 เป็นผลมาจากราคาผลิตภัณฑ์คอนกรีตและวัสดุกอสร้างอืนๆ (อิฐ ่ ้ ่ ่ ทราย ยางมะตอย และหินย่อย) ปรับตัวสูงขึนร้อยละ 13.3 และ 10.7 ตามลําดับ ้ สาขาอสังหาริมทรัพย์หดตัวร้อยละ 1.3 เทียบกับการหดตัวทีรอยละ 0.3 ในไตรมาสก่อน เป็นผลจากสถานการณ์ ่้ น้ําท่วม ส่งผลให้ผบริโภคเลือนการตัดสินใจซือ สะท้อนจากปริมาณการโอนกรรมสิทธิทอยูอาศัยในเขตกรุงเทพฯ ู้ ่ ้ ์ ี่ ่ และปริมณฑลทีลดลงร้อยละ 14.4 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอน อย่างไรก็ตามเงินกูเ้ พือทีอยูอาศัยปล่อยใหม่ ่ ่ ่ ่ ่ ขยายตัวร้อยละ 6.3 เทียบกับทีหดตัวร้อยละ 13.8 ในไตรมาสทีผานมา ส่วนหนึงเป็นผลมาจากความต้องการสินเชือ ่ ่่ ่ ่ เพือซ่อมแซมทีอยูอาศัย ส่วนระดับราคายังคงขยายตัว ทังราคาบ้านเดียวพร้อมทีดน ทาวส์เฮาวส์พร้อมทีดน อาคาร ่ ่ ่ ้ ่ ่ิ ่ิ ชุด และทีดน โดยเพิมขึนจากช่วงเดียวกันของปีกอนร้อยละ 0.9 3.3 8.1 และ 6.9 ตามลําดับ ่ิ ่ ้ ่ สาขาโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวร้อยละ 5.2 ปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 5.3 ในไตรมาสที่ผ่านมา โดยสะท้อนจาก (1) จํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยในไตรมาสนี้มีจํานวน 5.7 ล้าน คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (2) รายรับจากการท่องเที่ยวจํานวน 258,102 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 235,348 ล้านบาทในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 และ (3) อัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 66.8 สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนและไตรมาสที่ผ่านมา ที่ร้อยละ 64.7 และร้อยละ 56.3 ตามลําดับ
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
9

สาขาก่อสร้างขยายตัว ร้อยละ 0.8 ตามการก่อสร้าง ภาคเอกชนที่ขยายตัวร้อยละ 2.1 ขณะที่การก่อสร้าง ภาครัฐหดตัวร้อยละ 1.0

สาขาอสังหาริมทรัพย์ หดตัว ร้อยละ 1.3 เป็นผลต่อเนือง ่ จากสถานการณ์น้ําท่วม ทําให้ ผูบริโภคเลือนการตัดสินใจซือ ้ ่ ้

ภาคการท่องเทียวฟืนตัวจาก ่ ้ เหตุการณ์นาท่วมในไตรมาสที่ ้ํ ผ่านมา สะท้อนจากสาขา โรงแรมและภัตตาคารทีขยาย ่ ตัวร้อยละ 5.2 ตามการเพิมขึน ่ ้ ของนักท่องเทียวต่างประเทศ ่ ทีเ่ พิมขึนร้อยละ 7.1 ่ ้
21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~

NESDB

จํานวนและอัตราการเปลี่ยนแปลงของนักท่องเที่ยวจําแนกรายสัญชาติ 2552 2553 2554 หน่วย: พันคน ทั้งปี ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 มาเลเซีย 1,757.8 2,059.0 2,470.7 574.4 645.3 683.2 567.8 จีน 777.5 1,122.2 1,760.6 474.9 397.5 526.3 362.0 ญี่ปุ่น 1,004.5 993.7 1,126.2 317.0 248.2 343.8 217.1 เกาหลี 618.2 805.4 1,014.3 288.8 226.6 282.2 216.7 สหราชอาณาจักร 841.4 810.7 844.2 227.5 200.0 198.0 218.7 สหรัฐฯ 627.1 611.8 684.1 188.9 160.4 152.7 182.1 อินเดีย 646.7 698.0 916.8 207.3 267.3 231.8 210.4 ออสเตรเลีย 614.6 760.4 854.1 185.5 204.1 226.2 238.3 ฝรั่งเศส 427.1 461.7 509.2 167.6 92.6 122.6 126.5 อัตราการขยายตัว (%YoY) มาเลเซีย -2.6 17.1 20.0 11.9 45.6 32.1 -3.0 จีน -6.0 44.3 56.9 42.2 188.4 67.4 7.7 ญี่ปุ่น -13.0 -1.1 13.3 3.7 46.1 35.5 -17.9 เกาหลี -30.5 30.3 25.9 19.5 60.9 46.8 -6.1 สหราชอาณาจักร 1.8 -3.7 4.1 -8.0 20.0 11.4 -0.2 สหรัฐฯ -6.3 -2.4 11.8 0.6 30.6 22.3 3.3 อินเดีย -6.9 7.9 20.6 22.6 52.7 23.9 -8.2 ออสเตรเลีย 14.5 23.7 22.4 5.5 35.6 27.4 22.7 ฝรั่งเศส 7.2 8.1 10.3 7.9 20.1 18.9 0.2 ที่มา: กรมการท่องเทียว

2555 Q1 577.2 561.1 339.8 305.2 239.1 207.5 210.7 215.6 192.2 0.5 18.2 7.2 5.7 5.1 9.9 1.6 16.2 14.7

ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวอย่างรวดเร็วและนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ได้แก่ นักท่องเที่ยวจาก ประเทศจีน ออสเตรเลีย และฝรั่งเศส โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.2 16.2 และ 14.7 ตามลําดับ การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงมีการขยายตัวสะท้อนจากจํานวนเที่ยวบินและผู้โดยสารของสายการบิน ราคาต่ําที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.1 และ 19.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ตามลําดับ การจ้างงาน ไตรมาสที่หนึ่ง ปี 2555 มีการจ้างงาน 38.06 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา เป็นการเพิ่มขึ้นทั้งการจ้างงานภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 และ 0.5 ตามลําดับ การจ้างงานภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้นส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการผลิตสินค้าเกษตรสําคัญหลายชนิด เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ อ้อย ยางพารา ปาล์มน้ํามัน และมันสําปะหลัง ส่วนนอกภาคเกษตรขยายตัวตามการจ้าง งานที่เพิ่มขึ้นของภาคอุตสาหกรรม โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามการผลิต ที่ฟื้นตัวหลังเกิดเหตุการณ์น้ําท่วม การจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ตามการจ้างงานของภาค เกษตรและนอกภาคเกษตรที่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 และ 0.5 ตามลําดับ อัตราการว่างงาน อยู่ในระดับต่ําทีร้อยละ 0.7 ่

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

10

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
สําหรับผู้ว่างงานเฉลี่ยในไตรมาสนี้มีจํานวน 285,150 คน ลดลง 20,843 คนเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือลดลงร้อยละ 6.8 อัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 0.7 ตลาดแรงงานยังคงตึงตัว สะท้อนจากสัดส่วนของตําแหน่งงานว่างทั้งประเทศต่อผู้สมัครงานใหม่ เท่ากับ 0.8 เมื่อเทียบกันไตรมาสก่อนที่มีสัดส่วนเท่ากับ 0.7

NESDB

%YOY การจ้างงานรวม - ภาคเกษตร - นอกภาคเกษตร อุตสาหกรรม ก่อสร้าง โรงแรมและภัตตาคาร ค้าส่งและค้าปลีก จํานวนผู้ว่างงาน (แสนคน) อัตราการว่างงาน
ที่มา: สํานักงานสถิตแห่งชาติ ิ
 ภาวะการคลัง

การจ้างงานจําแนกตามสาขาการผลิต 2552 2553 2554 ทั้งปี ทั้งปี ทั้งปี Q1 1.9 1.0 1.2 0.6 -0.1 0.5 2.4 2.1 3.1 1.3 0.4 -0.3 -1.5 -1.3 1.9 1.3 4.0 2.2 0.0 4.0 8.8 1.3 -3.2 -10.0 5.1 3.0 -3.6 -2.9 5.7 4.0 2.6 3.2 1.5 1.0 0.7 0.8 Q2 1.4 6.4 -1.5 1.2 -6.5 -2.3 -6.8 2.3 0.6 Q3 1.6 2.3 1.1 4.2 4.3 2.3 -3.4 2.6 0.7

2555 Q4 Q1 0.9 1.2 -1.0 2.5 2.3 0.5 3.4 6.3 2.6 -1.6 -5.8 -11.9 0.4 -1.1 2.5 2.9 0.6 0.7

การจัดเก็บรายได้ในไตรมาสสองปีงบประมาณ 2555 (มกราคม – มีนาคม 2555) รัฐบาลสามารถจัดเก็บ รายได้สุทธิ 414,360.1 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 17,578.0 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.4 เพิ่มขึ้น จากช่ว งเดีย วกัน ของปี ง บประมาณก่ อน 20,568.0 ล้านบาท หรือร้ อยละ 5.2 ซึ่ ง เป็นผลมาจากสภาวะ เศรษฐกิจที่เริ่มปรับตัวดีขึ้นหลังชะลอตัวจากปัญหาอุทกภัย โดยเฉพาะรายได้ที่จัดเก็บจากการนําเข้า ส่วน ใหญ่เป็นการนําเข้าสินค้าทุนเพื่อทดแทนเครื่องจักรที่เสียหายจากอุทกภัย ส่งผลให้การจัดเก็บรายได้จากอากร ขาเข้า และภาษีมูลค่าเพิ่ม สูงกว่าที่ประมาณการไว้ถึง 5,232.87 และ 7,451.84 ล้านบาทหรือร้อยละ 21.2 และ 4.9 และขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 19.0 และ 15.2 ตามลํ า ดั บ ประกอบกั บ อุ ต สาหกรรมรถยนต์ ภายในประเทศเริ่ ม ดํ า เนิ น การผลิ ต หลั ง จากชะลอตั ว จากปั ญ หาอุ ท กภั ย ซึ่ ง เห็ น ได้ จ ากการจั ด เก็ บ ภาษี สรรพสามิตรถยนต์ที่แม้ว่าจะต่ํากว่าประมาณการเล็กน้อย แต่ยังขยายตัวสูงกว่าจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 8.2 นอกจากนี้การจัดเก็บรายได้จากภาษียาสูบ ภาษีเบียร์ และการนําส่งรายได้จากรัฐวิสาหกิจ ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีงบประมาณก่อนร้อยละ 13.7 10.2 และ 33.2 ตามลําดับ โดยภาษี ยาสูบและภาษีเบียร์เป็นผลจากกําลังการผลิตได้กลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ต้องหยุดการผลิตไปเนื่องจาก ภาวะน้ําท่วมและผลิตเพื่อทดแทนสต็อกสินค้าเดิม และสําหรับการนําส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจเป็นผลจากการ นําส่งรายได้จากกําไรสุทธิของรัฐวิสาหกิจสูงกว่าที่ประมาณการไว้ อย่างไรก็ตาม การปรับลดอัตราภาษี สรรพสามิตน้ํามันดีเซล จากลิตรละ 5.310 บาท เหลือลิตรละ 0.005 บาท (ลดลง 5.305 บาท/ลิตร) ส่งผลให้
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
11

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สูงกว่า ประมาณการไว้ ร้อยละ 4.4 จากสภาวะเศรษฐกิจที่เริ่ม ปรับตัวดีขึ้นหลังชะลอตัวจาก ปัญหาอุทกภัย

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามันฯ ต่ํากว่าที่ประมาณการไว้ร้อยละ 29.4 และต่ํากว่าเมื่อเทียบกับช่ว ง เดียวกันของปีก่อนถึงร้อยละ 61.5 การเบิก จ่ายงบประมาณ การเบิก จ่ายงบประมาณในไตรมาสสองปี งบประมาณ 2555 มีจํ านวนทั้ งสิ้ น 780,912 ล้านบาท แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2555 จํานวน 733,065 ล้ า นบาท หรื อ คิ ด เป็ น อั ต ราการเบิ ก จ่ า ยร้ อ ยละ 32.1 ของงบประมาณรายจ่ า ยประจํ า ปี 2555 สู ง กว่ า เป้าหมายที่กําหนดไว้ที่ร้อยละ 22.0 โดยเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจํา 651,239 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33.1 ของรายจ่ายประจํา และรายจ่ายลงทุน 81,826 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 26.1 ของรายจ่ายลงทุน รวมครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ มีการเบิกจ่ายงบประมาณไปแล้วทั้งสิ้น 1,172,279 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 51.4 ของงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2555 สูงกว่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ที่ร้อยละ 42.0 เป็นผลมาจากการ เร่งเบิกจ่ายงบประมาณหลังจากที่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2555 มีผลบังคับใช้ และ 2) การเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีประจําปีงบประมาณ 2555 จํานวน 47,847 ล้านบาท รวมครึ่งปีแรกของ ปีงบประมาณมีการเบิกจ่ายงบเหลื่อมปีไปแล้ว 98,303 ล้านบาท การใช้จ่ายในโครงการ มาตรการของรัฐในการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย (งบกลาง 120,000 ล้านบาท) จนถึง ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2555 พบว่า มีโครงการที่ได้รับการจัดสรรไปแล้ว 2,344 โครงการ วงเงิน 119,536 ล้านบาท หรือร้อยละ 99.6 ของงบประมาณโครงการ โดยโครงการที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว 2,103 โครงการ หรือร้อยละ 89.7 ของโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ คิดเป็นเงิน 98,986 ล้านบาท หรือร้อยละ 82.5 ของงบประมาณโครงการ และมีโครงการที่มีการเบิกจ่ายแล้ว 1,639 โครงการ หรือร้อยละ 69.9 ของโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ คิดเป็นการเบิกจ่ายจํานวน 55,507 ล้านบาทหรือร้อยละ 46.3 ของงบประมาณโครงการ
สรุปผลการจัดเก็บรายได้และผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปี
หน่วย: พันล้านบาท

NESDB

การเบิกจ่ายงบประมาณไตร มาสสองสูงกว่าเป้าหมายที่ วางไว้มากเนื่องจากมีการเร่ง เบิกจ่ายงบประมาณหลังจาก ที่พระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจําปี 2555 มีผล บังคับใช้

ความคืบหน้าโครงการ มาตรการของรัฐในการ ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยมี การเบิกจ่ายแล้วเป็นเงิน 55,507 ล้านบาท หรือร้อย ละ 46.3 ของวงเงิน งบประมาณโครงการ

ปีงบประมาณ

รายได้นําส่งคลังสุทธิ เทียบประมาณการ (%) เทียบปีก่อน (%) ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปี เทียบวงเงินงบประมาณ (%) สูง/-ต่ํา กว่าเป้าหมาย (%) ที่มา: กระทรวงการคลัง และ ระบบ GFMIS

2553 ทั้งปี ทั้งปี 1,678.9 1,891.0 24.4 14.6 19.0 10.9 1,627.8 2,050.5 95.8 94.5 1.8 1.5

2554
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

2555
Q2

395.6 12.5 13.4 553.8 25.5 5.5

393.8 16.9 17.0 516.9 23.8 -0.2

597.5 15.6 8.8 521.9 24.1 0.1

504.2 13.4 7.3 458.0 21.1 -3.9

398.3 4.1 0.7 439.2 21.2 1.2

414.4 4.4 5.2 733.1 32.1 10.1

ฐานะการคลัง ในไตรมาสสองของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลขาดดุลเงินงบประมาณ 375,167.7 ล้านบาท แต่ มี ก ารเกิ น ดุ ล ของเงิ น นอกงบประมาณ 91,414.8 ล้ า นบาท และรั ฐ บาลได้ กู้ เ พื่ อ ชดเชยการขาดดุ ล งบประมาณจํ า นวน 93,610.0 ล้ า นบาท ส่ ง ผลให้ ดุ ล การคลั ง ตามระบบกระแสเงิ น สด ขาดดุ ล จํ า นวน 190,143.0 ล้านบาท ซึ่งสถานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2555 มีจํานวน 74,534.0 ล้านบาท ลดลง จากสิ้นเดือนกันยายน 2554 (สิ้นปีงบประมาณ 2554) จํานวน 446,756.0 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 85.7 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2555 มีจํานวน 4,345,979.9 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ของปีที่แล้ว 88,570.1 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 แต่เมื่อเทียบ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2554 (กันยายน 2554) หนี้สาธารณะคงค้างปรับตัวลดลง 102,314.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 2.3 ทั้งนี้รัฐบาลมีหนี้ สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2555 คิดเป็นร้อยละ 37.6 ของ GDP ในจํานวนนี้เป็นหนี้ของรัฐบาล จํานวน 3,143,585.6 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 27.2 ของ GDP

ปริมาณเงินคงคลังมีจํานวน 74,534.0 ลดลงจากสิ้น ปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 85.7 หนี้สาธารณะคงค้าง คิดเป็น ร้อยละ 37.6 ของ GDP ยัง อยู่ภายใต้กรอบยั่งยืน ทางการคลัง

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

12

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
หนี้สาธารณะคงค้าง หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นงวด (ปีงบประมาณ) 2554 2552 2553 Q1 Q2 Q3 Q4 หน่วย: พันล้านบาท 2555 Q2 Q1 (ก.พ.55) 4,297.9 4,346.0 40.8 37.6 3,088.5 3,143.5 1,061.0 1,039.2 148.4 0.0 0.0 163.2 0.0 0.0

NESDB

หนี้สาธารณะคงค้าง 4,002.0 4,230.7 4,282.1 4,246.1 สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP (ร้อยละ) 44.3 41.9 42.4 40.3 หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง 2,586.5 2,907.5 3,002.4 2,988.8 หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,108.7 1,084.0 1,081.0 1,065.9 หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน 208.7 177.2 168.1 160.3 (รัฐบาลค้ําประกัน) หนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 98.1 62.1 30.6 31.1 หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ (VF & EFPO) 0.0 0.0 0.0 0.0
ที่มา: สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
 ภาวะการเงิน

4,263.6 4,448.3 40.5 42.2 3,000.5 3,181.2 1,074.3 1,079.7 158.3 156.9 30.5 0.0 30.4 0.0

อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับลดลง ในไตรมาสแรกของปี 2555 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 3.25 ต่อปี มาอยู่ที่ร้อยละ 3.00 ต่อปี เพื่อกระตุ้นการขยายตัวทาง เศรษฐกิจภายหลังเหตุการณ์ อุท กภัยปี 2554 ประกอบกับ มีความเสี่ยงจากปัญหาเศรษฐกิจโลกเพิ่มขึ้ น ในขณะที่แรงกดดันเงินเฟ้อยังอยู่ในระดับที่บริหารจัดการได้ โดยการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับประเทศในภูมิภาค ที่เริ่มดําเนินนโยบายผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาอัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ท่ามกลางสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่อยู่ในช่วงชะลอตัว ล่าสุดในเดือน พฤษภาคม กนง. มีมติคงอัตราดอกเบี้ยที่ร้อยละ 3.00 เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ผ่อนคลายลงในช่วงที่ผ่านมา มีส่วนช่วยฟื้นฟูความเชื่อมั่นภาคเอกชน ทําให้เศรษฐกิจฟื้นตัวได้อย่างน่าพอใจ
การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศต่าง ๆ ประเทศ ไทย สหรัฐฯ ยุโรป จีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย
ที่มา: CEIC

อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับ ลดลงจากความเสี่ยงของ เศรษฐกิจโลก ซึงเป็นไปใน ่ ทิศทางเดียวกันกับประเทศ ในภูมิภาค

2552 2553

2554

Q1 Q2 Q3 Q4 -1.50 +0.75 +0.50 +0.50 +0.50 -0.25 -1.50 +0.25 +0.25 -0.50 +0.50 +0.25 +0.25 +0.25 0-0.1 +0.25 +0.25 +1.00 +3.00 +1.00 +1.00 +0.25 -0.75 +0.75 +0.25

-1.50 -1.50 -2.75 -1.25

หน่วย: ร้อยละ 2555 อัตราดอกเบี้ย ณ สิ้น เม.ย. 55 Q1 เม.ย. -0.25 3.00 0.25 1.00 6.56 0 - 0.1 -0.50 6.00 -1.00 -1.00 13.00 -0.25 5.75 3.00

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ปรับตัวลดลงตามทิศทางการลดลงของอัตราดอกเบี้ย นโยบาย ขณะที่อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเพิ่มขึ้นสอดคล้องกับอัตราเงินเฟ้อที่ชะลอตัวลง อัตราดอกเบี้ยเงิน ฝากประจํา 12 เดือนและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ปรับตัวลดลงจากร้อยละ 2.87 และ 7.25 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาส สุดท้ายของปี 2554 เป็นร้อยละ 2.86 และ 7.13 ต่อปี ตามลําดับ ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2555 ปรับลดลงเป็นร้อยละ 3.45 จากร้อยละ 3.53 ในเดือนกุมภาพันธ์ ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ แท้จริงติดลบน้อยลงเป็นร้อยละ -0.59 ต่อปี ส่วนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่แท้จริงปรับลดลงเล็กน้อยเป็น 3.45 ต่อปี ในเดือนเมษายน 2555 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ทรงตัวที่ร้อยละ 2.86 และ 7.13 ต่อปี ตามลําดับ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อปรับตัวลดลงอย่างมีนัยสําคัญมาอยู่ที่ร้อยละ 2.47 ส่งผลให้อัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริงปรับตัวเป็นบวกครั้งแรกในรอบสองปีที่ร้อยละ 0.39 ต่อปี
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
13

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและ เงินกูของธนาคารพาณิชย์ ้ ปรับตัวลดลงตามอัตรา ดอกเบี้ยนโยบาย

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
เงินฝากและการลงทุนในตั๋วแลกเงิน (B/E) ของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวร้อยละ 10.4 ชะลอลงจาก ร้อยละ 12.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสนี้ ธนาคารพาณิชย์เพิ่มการระดมทุนผ่านเงินฝากแทนการ ออกตั๋วแลกเงินจากการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การลงทุนในตั๋วแลกเงินที่จะมีผลบังคับใช้ในไตรมาสที่ 3 ของ ปี 2555 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มระดับการคุ้มครองนักลงทุนรายย่อย ส่งผลให้นักลงทุนรายย่อยเข้ามา ลงทุนได้ยากขึ้น อีกทั้งมีมาตรการที่ทําให้การระดมทุนของธนาคารพาณิชย์ด้วยการออกตั๋วแลกเงินมีต้นทุนที่ สูงขึ้น ดังนั้น ธนาคารพาณิชย์จึงระดมทุนในรูปเงินฝากมากขึ้นเพื่อเตรียมการสําหรับกฎเกณฑ์ใหม่ดังกล่าว ส่งผลให้ตั๋วแลกเงิน (B/E) ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงมากอยู่ที่ร้อยละ 8.9 จากร้อยละ 60.4 ในไตรมาสก่อน หน้า ในขณะที่เงินฝากขยายตัวร้อยละ 10.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.4 ในไตรมาสที่แล้ว สินเชือภาคเอกชน (ไม่รวมดอกเบียค้างรับ) ชะลอตัวลงจากร้อยละ 16.2 ในไตรมาสก่อนหน้าเป็นร้อยละ 15.5 ่ ้ จากการชะลอลงของสินเชือธุรกิจของธนาคารพาณิชย์เป็นสําคัญ โดยเฉพาะสินเชือภาคอุตสาหกรรมทีชะลอลงและ ่ ่ ่ สินเชือภาคตัวกลางทางการเงินทีหดตัวลง อย่างไรก็ตาม สินเชือภาคธุรกิจของสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวถึง ่ ่ ่ ร้อยละ 50.2 เมือเทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอนหน้า ส่วนหนึงเป็นผลมาจากการดําเนินมาตรการฟืนฟูเยียวยาผู้ ่ ่ ่ ้ ได้รบผลกระทบจากอุทกภัยของรัฐบาล สําหรับสินเชือครัวเรือนทังระบบขยายตัวในระดับร้อยละ 16.3 ใกล้เคียงกับ ั ่ ้ ไตรมาสทีแล้ว โดยสินเชือครัวเรือนของธนาคารพาณิชย์ขยายตัวสูงขึน โดยเฉพาะสินเชือเพือการอุปโภคบริโภคส่วน ่ ่ ้ ่ ่ บุคคลของธนาคารพาณิชย์ รวมทังจํานวนบัตรเครดิตและยอดสินเชือคงค้างทีขยายตัวขึนจากความต้องการใช้เงินใน ้ ่ ่ ้ การฟืนฟูซอมแซมบ้านเรือนและจับจ่ายใช้สอยหลังจากภาวะอุทกภัยและความเชือมันผูบริโภคทีปรับเพิมขึนในช่วง ้ ่ ่ ่ ้ ่ ่ ้ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ แม้จะยังคงมีความกังวลเกียวกับราคาน้ํามันและราคาค่าครองชีพ ในขณะทีสนเชือ ่ ่ิ ่ ครัวเรือนของสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวในอัตราทีชะลอลงเมือเทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอนหน้า ่ ่ ่

NESDB
เงินฝากรวมตั๋วแลกเงิน (B/E) ชะลอลงจากการชะลอตัวลง มากของตั๋วแลกเงิน ในขณะที่ เงินฝากปรับเพิมขึ้นมาก ่ เช่นเดียวกัน

สินเชื่อภาคเอกชน ชะลอตัว ลง จากการชะลอลงของ สินเชื่อธุรกิจของธนาคาร พาณิชย์ ในขณะที่สินเชื่อภาค ธุรกิจของสถาบันการเงิน เฉพาะกิจขยายตัวจากการ ดําเนินมาตรการฟื้นฟูของ รัฐบาล

สภาพคล่องในระบบธนาคารพาณิชย์ตึงตัวขึ้นเล็กน้อย โดยสัดส่วนสินเชื่อ (ไม่รวมเงินให้กู้ยืมผ่านธุรกรรม ซื้อคืนพันธบัตร) ต่อเงินฝากที่รวมตั๋วแลกเงินของธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 94.9 จากร้อยละ 93.7 ในไตรมาสก่อนหน้าเนื่องจากอัตราการขยายตัวของสินเชื่อสูงกว่าการขยายตัวของเงิน ฝากรวมตั๋วแลกเงิน (B/E) ทั้งนี้ ในช่วงเวลาที่เหลือของปี ธนาคารพาณิชย์มีแนวโน้มที่จะระดมเงินออมอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อตามภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น อัตราแลกเปลียนเงินบาทเมือเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึน อัตราแลกเปลียนเฉลียไตรมาสแรกของปี ่ ่ ้ ่ ่ 2555 เท่ากับ 31.00 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึนร้อยละ 0.06 เมือเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า แต่ออนค่าลง ้ ่ ่ ร้อยละ 1.45 เมือเทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอน ทังนีการเคลือนไหวของค่าเงินบาทในไตรมาสแรกเคลือนไหว ่ ่ ้ ้ ่ ่ ผันผวน โดยในช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวในทิศทางที่แข็งค่าขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจาก มุมมองเชิงบวกต่อสถานการณ์ของประเทศในกลุ่ม PIIGS และแนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ฟื้นตัวชัดเจนขึ้น ส่งผลให้มีเงินทุนไหลเข้าทั้งในตลาดหลักทรัพย์และตลาดตราสารหนี้ของไทย อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาท เคลือนไหวในทิศทางทีออนค่าลงจากเดิมเล็กน้อยในเดือนมีนาคมจากแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนและ ่ ่่ ญีปน ประกอบกับความกังวลต่อปัญหาหนีสาธารณะในสหภาพยุโรปและเศรษฐกิจสหรัฐฯ ทีเ่ พิมขึน ได้กดดันให้ ่ ุ่ ้ ่ ้ ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงอีกครัง โดย ณ สินเดือนมีนาคม 2555 ค่าเงินบาทปิดทีระดับ 30.69 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ้ ้ ่ และในเดือนเมษายน ค่าเงินบาทเฉลียอยูที่ระดับ 30.89 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวอ่อนค่าลงร้อยละ 0.65 ่ ่ จากค่าเฉลียในเดือนมีนาคม เนืองจากความกังวลในปัญหาหนีสาธารณะในสหภาพยุโรปและปัญหาการชะลอตัว ่ ่ ้
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
14

สภาพคล่องในระบบธนาคาร พาณิชย์ตงตัวขึนเล็กน้อย ึ ้ เนื่องจากอัตราการเพิ่มขึ้น ของสินเชือที่ปรับเพิ่มขึ้นสูง ่ กว่าเงินฝากรวมตั๋วแลกเงิน (B/E) ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น จาก มุมมองเชิงบวกต่อ สถานการณ์ในกลุ่มประเทศ PIIGS และสถานการณ์ เศรษฐกิจสหรัฐที่ฟื้นตัว ชัดเจนขึ้น

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ของเศรษฐกิจจีนได้กดดันให้นักลงทุนลดการถือครองสินทรัพย์เสี่ยงลง ล่าสุดค่าเงินบาทเฉลี่ยตั้งแต่วันที่ 1-18 พฤษภาคม 2555 อ่อนค่าลงอย่างต่อเนืองมาอยูที่ 31.15 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. เนืองจากสถานการณ์ในยุโรปมี ่ ่ ่ แนวโน้มทีจะขยายตัวลุกลามไปในวงกว้างมากขึน ่ ้ เมือเทียบกับสกุลเงินของประเทศคูคา/คูแข่งอืนๆ ค่าเงินบาทเมือเทียบจากไตรมาสก่อนหน้าและช่วงเดียวกันของปี ่ ่้ ่ ่ ่ ก่อนอ่อนค่าลง โดย ณ สินไตรมาสแรกของปี 2555 ดัชนีคาเงินบาท (NEER) อยูที่ 101.16 อ่อนค่าลงร้อยละ 0.03 ้ ่ ่ และ 1.64 เช่นเดียวกับดัชนีคาเงินบาททีแท้จริง (REER) ทีออนค่าลงร้อยละ 0.07 และร้อยละ 1.19 ตามลําดับ ่ ่ ่่

NESDB

เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้าสุทธิ2 ไตรมาสแรกปี 2555 เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้าสุทธิ 2.02 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวจากการไหลออกที่ 5.77 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2554 ซึ่งส่วนใหญ่เป็น การไหลเข้าในภาคธนาคารและธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยในภาคธนาคารมีเงินทุนไหลเข้าจากการ กู้เงินระยะสั้นของธนาคารพาณิชย์และการเข้าซื้อตราสารทุนภาคธนาคารของนักลงทุนต่างชาติ เช่นเดียวกัน กับภาค ธปท. ที่เป็นการไหลเข้าจากการเข้าซื้อพันธบัตร ธปท. ของนักลงทุนต่างชาติ ในขณะที่ภาคอื่นๆ ปรับตัวเป็นการไหลออกสุทธิ 7.37 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการไหลเข้าที่ 3.97 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเงินทุนเคลื่อนย้ายตามประเภทการลงทุน พบว่าการไหลเข้าสุทธิของ เงินทุนเคลื่อนย้ายเป็นผลจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญของการลงทุนในหลักทรัพย์ของนักลงทุน ต่างชาติที่ 6.79 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และเป็นการเพิ่มขึ้นของทั้งการลงทุนในตราสารทุนและตราสารหนี้
(พันล้านดอลลาร์ สรอ. ) ธนาคารแห่งประเทศไทย ภาครัฐ ภาคธนาคาร ภาคอื่นๆ สถาบันการเงินที่ไม่รับฝากเงิน ธุรกิจที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน บัญขีเงินทุนโดยรวม ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย เงินทุนเคลื่อนย้าย 2553 2554 2555 ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 2.71 -0.14 1.70 -0.65 0.11 -1.31 2.91 3.56 3.68 1.17 0.34 1.83 0.38 0.93 10.32 -7.71 1.52 0.01 -1.07 -8.81 5.54 7.40 -2.20 -3.73 0.53 -2.81 3.97 -7.37 1.39 -3.68 0.09 -1.41 -0.63 -1.72 na. 6.01 1.17 -3.82 1.94 -2.34 5.39 na. 23.99 -6.36 0.65 0.23 -1.94 -5.77 2.02

เงินทุนไหลเข้าจากการกู้เงิน ระยะสั้นของธนาคารพาณิชย์ และการเข้าซื้อสุทธิตราสาร ทุนภาคธนาคารของนักลงทุน ต่างชาติ

เงินทุนเคลื่อนย้ายแยกตามประเภทการลงทุน 2553 2554 (พันล้านดอลลาร์ สรอ. ) ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 การลงทุนโดยตรง 4.17 -1.09 -4.15 1.59 การลงทุนในหลักทรัพย์ 9.17 3.30 3.31 -1.75 นักลงทุนไทย 0.71 -0.46 0.45 -1.00 นักลงทุนต่างชาติ 8.46 3.76 2.86 -0.75 การลงทุนอื่น ๆ 10.65 -9.03 1.50 0.39 สินเชื่อการค้า 1.27 -0.24 -0.81 0.22 บัญชีเงินทุนโดยรวม 23.99 -6.36 0.65 0.23 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
2

Q3 -0.61 2.57 0.79 1.78 -3.90 -2.48 -1.94

2555 Q4 Q1 2.08 -0.56 -0.83 1.86 -0.71 -4.93 -0.12 6.79 -7.02 0.72 2.84 -1.97 -5.77 2.02

ตัวเลขเงินทุนเคลื่อนย้าย ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2555 เป็นตัวเลขประมาณการที่อ้างอิงจากข้อมูลเร็วบางส่วนจากธนาคารแห่งประเทศไทยและจะมีการปรับในเดือนถัดไป

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

15

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ดุลบัญชีเดินสะพัด เกินดุล 551 ล้านดอลลาร์ สรอ. (หรือเท่ากับ 17,820 ล้านบาท) เกินดุลลดลงจากไตร มาสก่อนที่เกินดุล 1,843 ล้านดอลลาร์ สรอ. (หรือเท่ากับ 57,539 ล้านบาท) เป็นผลจากการเกินดุลการค้า 1,173 ล้านดอลลาร์ สรอ. และการขาดดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ 622 ล้านดอลลาร์ สรอ. เงินสํารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2555 เท่ากับ 178.96 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (และมี net forward position อีก 30.39 พันล้านดอลลาร์) ซึ่งคิดเป็นประมาณ 3.7 เท่าของหนี้ต่างประเทศระยะสั้น ของไตรมาสที่สี่ ปี 2554 และเท่ากับมูลค่าการนําเข้า 3.4 เดือน ของไตรมาสแรก ปี 2555 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสแรกของปี 2555 เท่ากับร้อยละ 3.4 ชะลอตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน ซึ่ง อยู่ที่ร้อยละ 4.0 เป็นผลมาจากการชะลอตัวของราคาอาหารสดเป็นสําคัญ โดยดัชนีราคาในหมวดอาหาร และเครื่องดื่มเท่ากับร้อยละ 7.3 ชะลอตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 9.7 เป็นผลมาจากปริมาณ ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ไข่ และผลิตภัณฑ์นม ออกสู่ตลาดมากขึ้น ภายหลังสถานการณ์อุทกภัยได้คลี่คลายลง นอกจากนี้ยังเป็นไปตามฤดูกาลของผลผลิตผักและผลไม้หลายชนิดอีกด้วย แต่ทั้งนี้ราคาอาหารสําเร็จรูปทั้ง บริโภคในและนอกบ้านยังคงเพิ่มสูงขึ้นแม้จะเป็นไปในทิศทางที่ชะลอตัวก็ตาม ในขณะที่ดัชนีราคาใน หมวดที่มิใช่อาหารและเครื่องดื่มเท่ากับร้อยละ 1.0 ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 0.5 สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มสูงขึ้นของราคาพลังงาน ตามการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของราคาน้ํามันดิบใน ตลาดโลก ประกอบกับการทยอยเก็บเงินเข้ากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง ส่งผลให้ราคาขายปลีกน้ํามันเชื้อเพลิงใน ประเทศ โดยเฉพาะราคาน้ํามันเบนซินและแก๊สโซฮอล์เพิ่มสูงขึ้น ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 2.7 ชะลอตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ตามการชะลอตัวของราคาอาหารสําเร็จรูปที่บริโภค ทั้งในและนอกบ้าน ตลอดจนราคาเครื่องประกอบอาหารประเภทน้ําตาล และน้ํามันพืช3

NESDB
ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุล ลดลง เงินทุนสํารองระหว่าง ประเทศ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2555 เท่ากับ 178.96 พันล้านดอลลาร์ สรอ. อัตราเงินเฟ้อทัวไปในไตรมาส ่ แรกของปี 2555 เท่ากับร้อย ละ 3.4

ดัชนีราคาผู้ผลิตในไตรมาสแรกของปี 2555 เท่ากับร้อยละ 2.4 ชะลอตัวจากไตรมาสก่อน ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 4.1 เป็นผลมาจากการชะลอตัวของราคาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์เหมืองแร่ ทั้งนี้ ราคาผลิตภัณฑ์ยาง และพลาสติกในไตรมาสนี้ลดลงอย่างมาก เนื่องจากผู้ประกอบการชะลอการซื้อยางแผ่นรมควันและยางแท่ง จากการที่มสนค้าตกค้างในโรงงานเป็นจํานวนมาก ประกอบกับความต้องการยางแผ่นรมควัน ชัน 3 จากจีนซึ่ง ีิ ้ เป็นผู้ซื้อรายใหญ่ลดลง ในขณะที่ราคาผลผลิตเกษตรเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ เมื่อพิจารณาดัชนีราคาผู้ผลิตจําแนก ตามขั้นตอนการผลิตพบว่า แรงกดดันด้านต้นทุนการผลิตลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะราคาวัตถุดิบที่มิใช่ อาหาร4

3 4

ในเดือนเมษายน 2555 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเท่ากับร้อยละ 2.5 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 2.1 ส่งผลให้ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2555 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเท่ากับร้อยละ 3.2 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเท่ากับร้อยละ 2.6 ในเดือนเมษายน 2555 ดัชนีราคาผู้ผลิตเท่ากับร้อยละ 0.8 ส่งผลให้ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2555 ดัชนีราคาผู้ผลิตเท่ากับร้อยละ 1.5

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

16

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพ ย์ (SET index) ปรับตัวเพิ่มสูง ขึ้นมากเมื่อเทียบกับตลาดหลักทรัพย์อื่นใน ภูมิภาคเอเชีย ณ สิ้นไตรมาสแรก SET index ปิดที่ 1,196.8 จุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.7 จากสิ้นปี 2554 ปรับตัวสูงขึ้นเป็นอันดับที่ 3 รองจากประเทศเวียดนาม และฟิลิปปินส์ มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันเพิ่มขึ้น เป็น 30.5 พันล้านบาท จาก 23.0 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า โดยในไตรมาสนี้ นักลงทุนต่างชาติมียอด ซื้อสุทธิรวม 82.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 30.2 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งการเพิ่มขึ้นของ SET index เป็นผลมาจากมุมมองเชิงบวกของนักลงทุนต่อสถานการณ์การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และ การแก้ไขปัญหาในสหภาพยุโรป ประกอบกับการปรับระดับของ SET จากกลุ่ม Secondary Market มาเป็น กลุ่ม Advanced Emerging Market ส่งผลให้ได้รับความสนใจจากนักลงทุนต่างชาติมากขึ้น ในเดือนเมษายน 2555 ดัชนีปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องมาปิดที่ 1,228.5 จุด หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 จากสิ้น เดือนมีนาคม จากปัจจัยบวกที่มาจากตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ เป็นสําคัญ อย่างไรก็ตามการที่ดัชนีได้ปรับตัว สูงขึ้นมากนั้น ส่งผลให้การซื้อขายของนักลงทุนเบาบางลง โดยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยต่อวันปรับลดลงมาอยู่ที่ 27.2 พันล้านบาท จาก 33.5 พันล้านบาท ในเดือนมีนาคม นักลงทุนต่างชาติมียอดซื้อสุทธิลดลงเหลือเพียง 1.2 พันล้านบาท จาก 33.4 พันล้านบาทในเดือนก่อนหน้า และล่าสุดตั้งแต่วันที่ 1- 18 พฤษภาคม ดัชนีปรับ ลดลงอย่า งมากจากเดือ นก่อนหน้ ามาอยู่ ที่ 1,154.4 จุ ด และนัก ลงทุ นต่า งชาติมี ย อดขายสุ ทธิอ ยู่ที่ 7.8 พันล้านบาท จากความกังวลต่อปัญหาหนี้สาธารณะยุโรปภายหลังเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในยุโรป

NESDB
นักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิ เพิ่มขึ้นอย่างมากจากกระแส เงินทุนไหลเข้าภูมิภาคเอเชีย

มูลค่าซือขายพันธบัตรและยอดซือสุทธิของนักลงทุนต่างชาติเพิมขึนมาก มูลค่าซือขายเฉพาะธุรกรรมซือขาย ้ ้ ่ ้ ้ ้ ขาด (Outright Transaction) เฉลี่ยต่อวันในไตรมาสแรก เท่ากับ 76.1 พันล้านบาทต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก 60.5 พันล้านบาทต่อวัน ในไตรมาสสี่ ปี 2554 โดยนักลงทุนต่างชาติมียอดซื้อสุทธิเพิ่มขึ้นมากเป็น 298.5 พันล้าน บาท เทียบกับยอดซือสุทธิที่ 30.5 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า ซึงปัจจัยภายนอกทีสงผลให้เงินทุนไหลเข้า ้ ่ ่่ ตลาดตราสารหนี้ไทยมากเนื่องจากการคลายความกังวลของนักลงทุนต่อปัญหาหนี้สาธารณะของกลุ่มสหภาพ ยุโรปและสถานการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มดีขึ้น ส่วนปัจจัยภายในมาจากการคาดการณ์ถึงพันธบัตรที่ จะออกใหม่ เพิ่มมากขึ้นในตลาดแรกและทิศทางอัต ราดอกเบี้ย ที่มีแนวโน้มปรับตั วสูงขึ้ น ส่ง ผลให้ อัต รา ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล (Yield) โดยเฉพาะอายุระยะกลางเป็นต้นไปปรับเพิมขึน ่ ้ ในเดือนเมษายน 2555 พบว่ามูลค่าซื้อขายเฉพาะธุรกรรมซื้อขายขาดเฉลี่ยต่อวันเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 97.1 พันล้านบาท เทียบกับ 77.8 พันล้านบาทในเดือนมีนาคม โดยนักลงทุนต่างชาติมียอดซื้อสุทธิลดลงเป็น 69.5 พันล้านบาท จาก 75.0 พันล้านบาทในเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาหนี้สาธารณะในประเทศกรีซมี แนวโน้มที่จะลุกลามไปยังประเทศสเปนและอิตาลี

นักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิ สูงขึ้นเกือบสิบเท่าจาก ไตรมาสก่อนหน้า

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

17

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
(พันล้านบาท) ตลาดหลักทรัพย์ SET Index (จุด) มูลค่าซื้อขายเฉลี่ยต่อวัน (พันล้านบาท) มูลค่าซื้อขายสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ (พันล้านบาท) ตลาดตราสารหนี้ ดัชนีราคาพันธบัตรรัฐบาล Gross Price Index (จุด) มูลค่าซื้อขายเฉพาะธุรกรรมซื้อขายขาด เฉลี่ยต่อวัน (Daily Average Outright Trading Value) (พันล้านบาท) มูลค่าซื้อขายสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ (พันล้านบาท) ภาวะตลาดหลักทรัพย์และตลาดตราสารหนี้ 2552 2553 2554 ทั้งปี ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 2555 เม.ย. 734.5 1,032.8 1,025.3 1,047.5 1,041.5 916.2 1,025.3 1,196.8 1,228.5 17.8 28.7 29.0 30.8 30.0 32.3 23.0 30.5 27.2 38.2 81.7 -5.1 -0.6 -14.1 -20.7 30.2 82.8 1.2

NESDB

103.5 104.9 105.9 104.2 103.3 103.6 105.9 103.0 103.1 59.9 23.1 68.6 72.1 80.8 77.7 69.8 60.5 30.5 76.1 298.5 97.1 69.5

322.4 688.8 292.7 197.1 171.5

ที่มา: CEIC และ ThaiBMA

การระดมทุ น ในตลาดแรกของภาครั ฐ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น จากความต้ อ งการใช้ เ งิ น ในการกระตุ้ น เศรษฐกิ จ เช่นเดียวกับภาคเอกชนมีการระดมทุนผ่านหุ้นกู้เพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการดําเนินธุรกิจภายหลังปัญหาอุทกภัย ในไตรมาสนี้มีพันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลังและตั๋วสัญญาใช้เงินออกใหม่ 258.7 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 121.2 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า จากการที่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2555 เริ่มมีการประกาศใช้ในเดือนกุมภาพันธ์ ประกอบกับมีความต้องการใช้เงินในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ จึงทํา ให้มีการออกพันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลังและตั๋วสัญญาใช้เงินเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ส่วน การระดมทุนของภาคเอกชนในไตรมาสนี้ มีมูลค่ารวม 423.0 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 257.0 พันล้านบาท ในไตรมาสสี่ ปี 2554 แต่ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้าที่ 443.4 พันล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนผ่านหุ้นกู้
(พันล้านบาท) 2553 ทั้งปี หลักทรัพย์ออกใหม่ ทั้งปี Q1 2554 Q2 2555 Q1

การระดมทุนในตลาดแรก ของภาครัฐเพิ่มสูงขึ้นจาก ความต้องการใช้เงินในการ กระตุ้นเศรษฐกิจเช่นเดียวกับ ภาคเอกชนมีการระดมทุน ผ่านหุ้นกู้เพิ่มขึนเพื่อใช้ในการ ้ ดําเนินธุรกิจภายหลังปัญหา อุทกภัย

ตราสารหนี้ภาครัฐ พันธบัตรรัฐบาล 511.5 396.1 84.6 113.8 165.5 32.1 150.7 ตั๋วเงินคลัง/ตั๋วสัญญาใช้เงิน 538.2 301.4 74.4 4.1 133.8 89.1 108.0 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ 42.2 40. 9 6.9 9.3 16.8 10.2 3.8 พันธบัตร ธปท.และกองทุนเพื่อการฟื้นฟู 9,435.3 1,0862.7 3,116.8 2,772.6 2,489.1 2,484.2 2,326.5 รวม 10,527.7 11,601.1 3,280.4 2,899.8 2,805.2 2,615.7 2,589.0 ตราสารภาคเอกชน ตราสารทุน 96.2 92.1 39.0 37.2 9.3 7.9 6.5 ตราสารหนี้ 969.9 1,124.8 404.4 343.4 221.0 249.1 416.5 รวม 1,066.0 1,216.9 443.4 380.5 230.3 257.0 423.0 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

Q3

Q4

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

18

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ํามันในไตรมาสแรกของปี 2555
ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลก: ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากความไม่มั่นใจในเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของ ยุโรป โดยเฉพาะปัญหาหนี้สาธารณะในประเทศกรีซ ในไตรมาสแรกของปี 2555 ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลก เฉลี่ย (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และ WTI) อยู่ที่ 112.61 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ขยายตัวร้อยละ 12.6 ชะลอ ลงจากไตรมาสที่ผ่านมาที่ขยายตัวร้อยละ 22.1 ราคาน้ํามันดิบดูไบโดยเฉลียในไตรมาสแรกของปี 2555 อยูที่ 115.11 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรลสูงกว่า 100.17 ่ ่ ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสเดียวกันของปี 2554 และณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2555 อยู่ที่ราคา 106.98 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล

NESDB

ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลก ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง จากความไม่มั่นใจใน เสถียรภาพทางเศรษฐกิจของ ยุโรป โดยเฉพาะปัญหาหนี้ สาธารณะในประเทศกรีซ

Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี 2554 Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี 2555 Q1 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 1-17 พ.ค. 17 พ.ค. ที่มา: บริษัทไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล 2553

ราคาน้ํามันดิบ OMAN DUBAI 76.08 75.69 78.15 77.90 73.84 73.83 84.40 84.22 78.12 77.91 100.55 100.17 111.10 110.73 107.33 106.92 106.98 106.31 106.49 106.03 115.95 115.11 110.77 109.73 114.34 113.28 122.74 122.31 117.27 117.11 110.50 110.47 107.01 106.98

BRENT 77.28 79.44 76.74 87.23 80.17 105.22 117.19 112.17 109.03 110.90 117.51 111.43 116.55 124.54 120.35 113.40 107.49

WTI 78.72 78.07 75.70 85.13 79.41 94.15 102.67 89.76 93.97 95.14 101.87 100.24 99.18 106.21 103.31 97.81 92.56

เฉลี่ย 76.95 78.39 75.03 85.24 78.90 100.02 110.42 104.05 104.07 104.64 112.61 108.04 110.84 118.95 114.51 108.04 103.51

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

19

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
3. ภาพรวมเศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกปี 2555
เศรษฐกิจของประเทศส่วนใหญ่ยังขยายตัวได้ดียกเว้นสหภาพยุโรป ส่งผลให้การว่างงานอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะสเปน และกรีซ สําหรับออสเตรเลียมีแนวโน้มชะลอตัว ทําให้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ ภาวะเงินเฟ้อของโลกยังอยู่ในระดับที่ไม่สูงมากนัก ยกเว้นญี่ปุ่นที่มีความเสี่ยงต่อภาวะเงิน ฝืด ในขณะที่ภาวะเงินเฟ้อในภูมิภาคมีแนวโน้มดีขึ้น โดยเฉพาะเวียดนาม ส่งผลให้มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ย ดุลบัญชีเดินสะพัดส่วนใหญ่เกินดุล ยกเว้น สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย ที่ยังขาดดุล อัตรา ดอกเบี้ ย ส่ ว นใหญ่ ยั ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ํ า ถึ ง ปานกลาง ยกเว้ น จี น และออสเตรเลี ย ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ ค่ อ นข้ า งสู ง สอดคล้องกับทิศทางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาว
 เศรษฐกิ จ สหรั ฐ อเมริ ก า

NESDB

ขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.1 (%YoY) เร่ ง ตั ว ขึ้ น จากร้ อ ยละ 1.6 ในไตรมาสก่ อ นหน้ า เนื่ อ งจากอุ ป สงค์ โ ดยรวมขยายตั ว ทั้ ง การบริ โ ภค การซื้ อ บ้ า น การลงทุ น และการส่ ง ออก การผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมยั ง คงขยายตั ว เมื่ อ ปรั บ ฤดู ก าลแล้ ว เศรษฐกิ จ ขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.2 (%QoQ, sa annualized) ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) ปรับตัวสูงขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 53.3 เทียบกับ 52.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงขึ้นต่อเนื่องที่ 54.8 ในเดือนเมษายน 2555 สะท้อนแนวโน้มการขยายตัว ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม การหดตัวในการใช้จ่ายภาครัฐยังเป็นปัจจัย เสี่ยงต่ออุปสงค์ในประเทศ โดยรัฐบาลสหรัฐฯ ต้องลดรายจ่ายมากขึ้นในอนาคตเพื่อสร้างเสถียรภาพการคลัง

เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ขยายตัวในอัตราสูงขึ้นจาก การขยายตัวในการผลิต ภาคอุตสาหกรรม และอุป สงค์ในประเทศ การจ้างงาน ฟื้นตัวต่อเนือง แต่การขาด ่ ดุลการค้ายังสูงกว่าปีที่แล้ว

ในไตรมาสแรกของปี 2555 สหรัฐฯ มีดุลการค้าขาดดุล 173.7 พันล้านเหรียญ สรอ. สูงขึ้นจากปีที่แล้วที่ขาด ดุล 159.5 พันล้านเหรียญ สรอ. ซึ่งดุลการค้าขาดดุลเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.9 (%YoY) ชะลอตัวลงจากร้อยละ 15.4 ในไตรมาสก่อนหน้า การจ้างงานปรับตัวดีขึ้นโดยอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 8.3 ลดลงจากร้อยละ 8.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และลดลงต่อเนื่องอยู่ที่ร้อยละ 8.1 ในเดือนเมษายน 2555 ผู้ว่างงาน ณ สิ้นไตรมาส แรกของปี 2555 มีจํานวน 12.7 ล้านคน ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าที่มีจํานวนผู้ว่างงาน 13.1 ล้าน คน การจ้างงานนอกภาคการเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 132.9 ล้านคน จากจํานวน 132.2 ล้านคนในไตรมาสก่อน หน้า โดยเป็นการจ้างงานในภาคเอกชน ในขณะที่การจ้างงานภาครัฐลดลงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลยังคงกระตุ้น เศรษฐกิจผ่านนโยบายการเงิน เช่น การคงอัตราดอกเบี้ยที่ร้อยละ 0 - 0.25 ไปจนถึงปี 2557 การลงทุนใน พันธบัตรที่มีอายุนานขึ้น (Operation Twist) เป็นต้น รวมถึงการใช้นโยบายการคลังด้วยการเพิ่มรายจ่ายใน หมวดการทหาร สินเชื่อซื้อบ้าน และการประกันสังคม
 เศรษฐกิจกลุ่มยูโรโซน

ขยายตัวร้อยละ 0.0 (YoY) เท่ากับไตรมาสสุดท้ายของปี 2554 ส่วนใหญ่ชะลอตัว ต่อเนื่องเมื่อเทียบกับไตรมาสแรกของปีที่ผ่านมา เช่น เยอรมัน (ชะลอตัวร้อยละ 1.2 จากร้อยละ 2.0) ออสเตรีย (ชะลอตัวร้อยละ 0.7 จากเดิมร้อยละ 1.4) ฝรั่งเศส (ชะลอตัวร้อยละ 0.3 จากเดิมร้อยละ1.2) และ เนเธอร์แลนด์หดตัวต่อเนื่องจากร้อยละ 0.1 เป็นร้อยละ 1.3 ในขณะที่ประเทศกลุ่ม PIIGS ยังหดตัวอย่าง ต่อเนื่อง กรีซ หดตัวร้อยละ 6.2 (จากเดิมหดตัวร้อยละ 7.5) อิตาลี หดตัวร้อยละ 1.3 (จากเดิมหดตัวร้อยละ 0.4) โปรตุเกส หดตัวร้อยละ 2.2 (จากเดิมหดตัวร้อยละ 2.9) สเปน หดตัวร้อยละ 0.42 (จากเดิมขยายตัว ร้อยละ 0.3) สําหรับการว่างงานเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 10.4 ในไตรมาสที่แล้ว เป็นร้อยละ 10.9 และมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่เดือนเมษายน โดยสเปนยังคงมีอัตราการว่างงานสูงที่สุด (ร้อยละ 24.1 มีนาคม 2555) ในขณะที่การว่างงานของออสเตรียต่ําสุดในกลุ่มที่อัตราร้อยละ 4.0 เงินเฟ้อเฉลี่ยลดลง เล็กน้อยที่ร้อยละ 2.6 อย่างไรก็ตาม ยังสูงกว่าเป้าหมายระยะปานกลางของธนาคารกลางยุโรปที่กําหนดไว้ที่ ร้อยละ 2.0 ทําให้อัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางยุโรปคงที่ที่ร้อยละ 1.0 ในขณะที่ปัญหาหนี้สาธารณะใน กลุ่ม PIIGS และผลของมาตรการเข้มงวดทางการคลังของยุโรปยังเป็นประเด็นเสี่ยงที่ต้องเฝ้าติดตามอย่าง ใกล้ชิด

เศรษฐกิจยูโรโซนทรงตัวเมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันและไตร มาสสุดท้ายของปี 2554 อัตราเงินเฟ้อปรับตัวดีขึ้น ในขณะทีการว่างงานเพิ่มขึ้น ่ และ ธนาคารกลางยุโรปยังคง อัตราดอกเบี้ยทีร้อยละ 1.0 ่ โดยปัญหาหนี้สาธารณะใน กลุ่ม PIIGS และผลของ มาตรการเข้มงวดทาง การคลังเป็นปัจจัยสําคัญต่อ สถานการณ์ในอนาคต

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

20

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
 เศรษฐกิจญี่ปุ่น

NESDB
เศรษฐกิจญี่ปุ่นขยายตัวได้ดี เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากภาคอุตสาหกรรม การบริโภค และการใช้จาย ่ ภาครัฐขยายตัว แต่ยังเผชิญ กับความเสี่ยงจากภาวะ เศรษฐกิจโลก

ขยายตัวร้อยละ 2.6 (%YoY) เร่งตัวขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 0.5 ในไตรมาสก่อนหน้าเนื่องจาก การฟื้นตัวของภาคอุตสาหกรรมจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและการลงทุนเพื่อฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐาน เมื่อปรับ ฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจขยายตัวสูงขึนร้อยละ 1.0 (%QoQ s.a.) เทียบกับการหดตัวร้อยละ 0.0 ในไตรมาสก่อน ้ หน้า ภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่มีแนวโน้มฟื้นตัวได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรเน้นความแม่นยํา แร่ โลหะ อุปกรณ์อุตสาหกรรมขนส่ง เป็นต้น โดยดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรมโดยรวมขยายตัวร้อยละ 2.6 (% YoY) และค่าเฉลี่ยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing PMI) ได้ปรับตัวสูงขึ้นสู่ระดับ 50.8 จากระดับเฉลี่ย 50.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ภาคการค้าปลีกขยายตัวร้อยละ 4.8 (%YoY) สูงขึ้น จากร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการใช้จายภาครัฐขยายตัวร้อยละ 17.1 (%YoY) สูงขึนจากร้อยละ 5.4 ่ ้ แม้วาเงินเยนอ่อนค่าเมือเทียบกับไตรมาสก่อน แต่การส่งออกยังคงหดตัวลงร้อยละ 1.6 แต่ปรับตัวดีขนเทียบกับ ่ ่ ึ้ การหดตัวร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า อัตราการว่างงานลดลงมาอยูทรอยละ 4.5 ่ ี่ ้

ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจในสหภาพยุโรปและแนวโน้มการแข็งค่าของเงินเยนยังเป็นปัจจัยเสี่ยงกระทบ ต่อการส่งออกของญี่ปุ่น เศรษฐกิจของญี่ปุ่นจึงต้องหวังพึ่งแรงหนุนจากอุปสงค์ในประเทศที่มีแนวโน้มฟื้นตัว จากนโยบายการเงินที่ผ่อนคลายจากการขยายวงเงินโครงการอัดฉีดสภาพคล่องผ่านการซื้อสินทรัพย์ จาก 55 ล้านล้านเยน เป็น 70 ล้านล้านเยน

 เศรษฐกิจจีน

ขยายตัวร้อยละ 8.1 (%YoY) เป็นการขยายตัวที่ต่ําที่สุดในรอบ 12 ไตรมาส โดยปรับลดลงจาก ไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.9 และเมื่อปรับฤดูกาลแล้วขยายตัวร้อยละ 1.8 (%QoQ, sa.) การที่ เศรษฐกิจมีแนวโน้มเติบโตในอัตราลดลงเป็นผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะในสหภาพ ยุโรป ส่งผลให้ทั้งการค้าปลีก การผลิตภาคอุตสาหกรรม การลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชะลอตัว ส่งผลให้ ดุลการค้าในไตรมาสแรกเกินดุลเล็กน้อยจํานวน 1.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. แต่ปรับตัวดีขึ้นมากเมื่อเทียบกับ ขาดดุลการค้า 706.4 ล้านดอลลาร์ สรอ.ในไตรมาสแรกของปี 2554 อย่างไรก็ตาม ดุลการค้าของจีนในเดือน เมษายน 2555 เกินดุล 18.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมพบว่ามีการขยายตัว เล็กน้อย โดยดัชนี PMI ภาคการผลิตของจีนอยู่ที่ระดับ 51.5 ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 สูงขึ้นเมื่อเทียบกับ ระดับ 49.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อของจีนลดลงจากร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า มา อยู่ที่ร้อยละ 3.8 ในไตรมาสนี้ แต่ราคาอาหารสดยังคงเพิ่มสูงขึ้น โดยในเดือนเมษายน อัตราเงินเฟ้อได้ลดลง มาอยู่ที่ระดับ 3.4 แนวโน้มเงินเฟ้อที่ลดลงเอื้อต่อการผ่อนคลายนโยบายการเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ โดย อัตราเงินสดสํารองธนาคารพาณิชย์ได้ปรับลดลงร้อยละ 1.0 มาอยู่ที่ร้อยละ 20.0 สําหรับธนาคารทั่วไปและ ร้อยละ 18.5 สําหรับธนาคารเพื่อการเกษตรแห่งชาติ ส่วนอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ร้อยละ 2.25 ไม่ เปลี่ยนแปลง คาดว่าเศรษฐกิจจีนจะเติบโตในอัตราที่ชะลอลงลงต่อเนื่องโดยไม่หดตัวรุนแรงเนื่องจากธนาคาร กลางพร้ อ มที่ จ ะผ่ อ นคลายนโยบายการเงิ น การบริ โ ภคในประเทศยั ง คงขยายตั ว ได้ และรั ฐ บาลยั ง มี ความสามารถในการใช้นโยบายการคลังเพิ่มเติม

เศรษฐกิจจีนขยายตัวในอัตรา ลดลงเนื่องจากการชะลอตัว ของเศรษฐกิจโลก แต่อัตรา การเติบโตที่ลดลงจะเป็น รูปแบบ Soft Landing และ ธนาคารกลางได้ผ่อนคลาย นโยบายการเงินเพิ่มเติม

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

21

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
 เศรษฐกิจอินเดีย คาดว่าขยายตัวใกล้เคียงกับไตรมาสทีสของปีกอนหน้าซึงขยายตัวร้อยละ 6.3 (%YoY) สะท้อน ่ ี่ ่ ่

NESDB
เศรษฐกิจอินเดียมีแนวโน้ม ขยายตัวในอัตราใกล้เคียงกับ ไตรมาสก่อนหน้า ภาคอุตสาหกรรมในประเทศ ที่ขยายตัวเล็กน้อยและความ เสี่ยงจากเศรษฐกิจโลก ทําให้ ธนาคารกลางลดอัตรา ดอกเบี้ยลง

จากดัชนี PMI ในไตรมาสทีหนึงซึงปรับตัวสูงขึนมาอยูทระดับเฉลีย 56.3 จากระดับ 52.4 ในไตรมาสที่ 4/2554 ่ ่ ่ ้ ่ ี่ ่ อย่างไรก็ตาม ดัชนี PMI มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 จนมาอยู่ที่ระดับ 54.9 ในเดือน เมษายน ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555) ขยายตัวร้อยละ 2.6 สูงขึนจากร้อยละ 1.1 ้ ในไตรมาสก่อนหน้าแต่ยงถือว่าอยูในระดับต่ํา นอกจากนี้ เศรษฐกิจอินเดียยังได้รบผลกระทบจากเศรษฐกิจโลก ั ่ ั ทีกําลังอ่อนแอ โดยการส่งออกขยายตัวเพียงร้อยละ 2.1 ลดลงจากร้อยละ 11.3 การทีอุปสงค์ที่ชะลอตัวทังใน ่ ่ ้ และต่างประเทศทําให้อตราเงินเฟ้อ (WPI) ลดลงจากร้อยละ 9.0 ในไตรมาสก่อนหน้ามาอยูทรอยละ 6.9 รัฐบาล ั ่ ี่ ้ อินเดียได้ชะลอการบังคับใช้กฎหมายเก็บภาษีจากบริษทต่างชาติทเี่ ข้าซือกิจการในอินเดียเพือส่งเสริมบรรยากาศ ั ้ ่ ทีดตอการลงทุน ในขณะทีธนาคารกลางลดอัตราดอกเบียนโยบาย (Repo Rate) จากร้อยละ 8.5 มาอยูทรอยละ ่ี่ ่ ้ ่ ี่ ้ 8.0 และลดอัตราสํารองเงินสดจากร้อยละ 6.0 มาอยูทรอยละ 4.75 เมือเดือนเมษายน 2555 ่ ี่ ้ ่
 เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่

(สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลีใต้ และฮ่องกง) ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่อง จากการส่งออกที่ชะลอตัวลง โดยการส่งออกของไต้หวันและฮ่องกงหดตัวร้อยละ 4.0 และ 1.5 ตามลําดับ ในขณะที่การส่งออกของสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 1.7 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเทียบกับการหดตัวร้อยละ 0.2 ใน ไตรมาสก่อนหน้า

เศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 1.6 (%YoY) ชะลอตัวลงจากร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลจากการ หดตัวของภาคอุตสาหกรรมและการค้าปลีกค้าส่ง ส่วนอัตราเงินเฟ้อของสิงคโปร์ลดลงจากร้อยละ 5.6 มาอยู่ที่ ร้อยละ 4.9 เนืองจากราคาอาหารสูงขึนเพียงเล็กน้อย ่ ้ เกาหลีใต้ขยายตัวร้อยละ 3.0 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากการส่งออกและการ ก่อสร้างชะลอตัว อัตราเงินเฟ้อเฉลียอยูทรอยละ 3.0 ลดลงจากร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้าเช่นกัน ธนาคาร ่ ่ ี่ ้ กลางเกาหลีใต้ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 3.25 เพื่อเพิ่มการเติบโตทางเศรษฐกิจและแรงกดดันจาก ปัญหาอัตราเงินเฟ้อได้ลดลงแล้ว เศรษฐกิจไต้หวันและฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 0.4 และ 0.5 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 2.5 และ 3.0 ตามลําดับ เป็น ผลมาจากการหดตัวของอุปสงค์ในตลาดโลก ทําให้ภาคอุตสาหกรรม การก่อสร้าง และค้าปลีกค้าส่งของไต้หวัน ชะลอตัว และภาคโลจิสติกส์ของฮ่องกงชะลอตัวลงเช่นกัน อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยในไตรมาสที่หนึ่งของไต้หวันและ ฮ่องกงอยูทรอยละ 0.7 และ 5.2 ตามลําดับ ลดลงเมือเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ่ ี่ ้ ่
 เศรษฐกิจของออสเตรเลีย

เศรษฐกิจของประเทศ อุตสาหกรรมใหม่ชะลอตัว เนื่องจากการหดตัวของอุป สงค์ในตลาดโลกทําให้การ ส่งออกลดลง

คาดว่าขยายตัวในอัตราทีชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าทีขยายตัวร้อยละ 2.3 โดยมี ่ ่ ปัจจัยหลักมาจากการขยายตัวของภาคเหมืองแร่ ในขณะทีภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ยังชะลอตัว การว่างงานเฉลียยัง ่ ่ ทรงตัวที่ร้อยละ 5.2 แต่ลดลงในเดือนเมษายนเหลือร้อยละ 4.9 ในขณะที่เงินเฟ้อลดลงอย่างต่อเนื่องเหลือ ร้อยละ 1.6 ในไตรมาสแรก เทียบกับร้อยละ 3.5 และ 3.1 ในไตรมาสทีสามและสีของปี 2554 โดยมีปจจัยสําคัญ ่ ่ ั จากการลดลงของราคาผักผลไม้ และที่อยู่อาศัย ส่งผลให้ธนาคารกลางออสเตรเลียปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง ต่อเนืองจากไตรมาสทีแล้วเหลือเพียงร้อยละ 3.75 นับเป็นการปรับลดอัตราดอกเบียนโยบายเป็นครังที่ 4 ในรอบ ่ ่ ้ ้ 12 เดือน อย่างไรก็ตามยังคงมีความเสี่ยงในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศซึ่งคาดว่าจะผันผวนใน กรอบค่อนข้างกว้างเทียบกับเหรียญ สรอ. โดยรวมคาดว่าเศรษฐกิจออสเตรเลียมีแนวโน้มขยายตัวได้ในปี 2555 มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม) ฟิลิปปินส์ยังขยายตัวได้ ดีร้อยละ 5.5 (จากร้อยละ 3.7 ในไตรมาสที่แล้ว) ในขณะที่เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซียชะลอตัว เล็กน้อยที่ร้อยละ 4.0 4.6 และ 6.3 ตามลําดับ โดยปัญหาเงินเฟ้อเริ่มผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการ แก้ไขปัญหาเงินเฟ้อของเวียดนามที่ได้ผลอย่างต่อเนื่อง ทําให้อัตราเงินเฟ้อลดลงจากร้อยละ 19.8 ในไตรมาส ที่แล้วเหลือเพียงร้อยละ 10.5 ในเดือนเมษายน (ร้อยละ 15.9 ในไตรมาสแรก) ทําให้แรงกดดันต่ออัตรา ดอกเบี้ยในภูมิภาคลดลง โดยอินโดนีเซียปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเหลือร้อยละ 5.75

เศรษฐกิจออสเตรเลียโดยรวม ยังขยายตัวได้ดี แต่มีแนวโน้ม ชะลอตัวเล็กน้อย โดยมีปัจจัย สําคัญจากการขยายตัวของ ภาคเหมืองแร่ ในขณะที่เงิน เฟ้อลดลงและการว่างงาน เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ทําให้มการ ี ปรับอัตราดอกเบี้ยลงถึง 4 ครั้งติดต่อกันในรอบ 12 เดือน โดยรวมคาดว่าในปี 2555 จะยังขยายตัวได้ดี

 เศรษฐกิจของกลุมประเทศอาเซียน (อินโดนีเซีย ่

ฟิลิปปินส์ ยังขยายตัวได้ดี ต่อเนื่อง ในขณะที่เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซียหด ตัวเล็กน้อย โดยเงินเฟ้อเริ่ม ผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้แรงกดดันต่ออัตรา ดอกเบี้ยลดลง
22

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของประเทศกลุ่ม ASEAN-4 2554 2552 2553 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 0.6 1.3 3.2 2.8 3.3 3.4 4.8 3.7 5.4 6.8 5.9 4.7 3.3 4.3 4.4 4.1 4.5 4.5 6.7 7.9 18.6 12.8 19.4 22.5 2555 Q4 Q1 3.2 2.3 4.1 3.7 4.7 3.1 19.8 15.9

NESDB

มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม

ที่มา: รวบรวมโดย สศช.

ปีปฏิทิน โลก สหรัฐอเมริกา กลุ่มยูโรโซน อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน อินเดีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย

2552 ทั้งปี -0.6 -3.5 -4.3 -4.9 -5.5 9.2 9.1 0.3 -1.8 -2.7 -0.8 -1.6 1.1 5.3 4.6 -2.3

2553 ทั้งปี 5.3 3.0 1.9 1.4 4.5 10.4 8.8 6.2 10.7 7.0 14.5 7.2 7.6 6.8 6.1 7.8

แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2555 2554 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 3.9 4.3 3.2 3.5 1.7 2.2 1.6 1.5 1.5 2.4 1.7 1.4 0.9 1.7 0.6 0.5 -0.7 -0.1 -1.7 -0.5 9.2 9.7 9.5 9.1 6.9 7.7 8.5 6.7 3.6 3.9 3.4 3.6 4.0 6.4 4.2 3.2 5.0 7.7 5.1 4.3 4.9 9.5 0.9 6.1 4.9 5.2 4.3 5.8 3.7 4.6 3.1 3.6 5.9 5.6 5.7 6.0 6.5 6.4 6.5 6.5 0.1 3.0 2.8 3.5

2555 Q4 3.2 1.6 0.7 0.5 -0.5 8.9 6.3 3.4 2.5 3.0 3.6 4.8 3.7 6.1 6.5 -8.9
Q1 ประมาณการทั้งปี

2.1 0.0 0.0 2.6 8.1 3.0 0.4 0.5 1.6 4.6 5.5 4.0 6.3 0.3

3.4-3.8 2.4 -0.2 0.8 1.8 8.3 6.9 3.5 3.4 1.0-3.0 1.0-3.0 4.0-5.0 4.2 5.6 6.5 5.5-6.5

ที่มา: รวบรวมและประมาณการโดย สศช.

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

23

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
4. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2555
เศรษฐกิจไทยในปี 2555 มีแนวโน้มขยายตัวในช่วงร้อยละ 5.5-6.5 โดยมีปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยเสี่ยง ดังต่อไปนี้
 ปัจจัยสนับสนุน

NESDB

(1) การเร่งตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม ตามการปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของอัตราการใช้กําลังการ ผลิตรวมทั้งแรงส่งจากฐานการขยายตัวที่ต่ําในไตรมาสที่ 2 และ 4 ของปี 2554 แม้ว่าอุตสาหกรรม สําคัญๆ มีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างเต็มที่ภายในไตรมาสที่ 2 ก็ตาม แต่การฟื้นตัวของบางอุตสาหกรรมยังมี ความล่ า ช้ า โดยเฉพาะในกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมเซมิ ค อนดั ก เตอร์ แ ละอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัดส่วนร้อยละ 23.9 ของภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด (2) การฟืนตัวของกําลังซื้อภาคครัวเรือนตามการฟื้นตัวของภาคการผลิตและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของ ้ ภาครัฐ เช่น การปรับเงินเดือนข้าราชการ การปรับขึนค่าจ้างขันต่ํา และมาตรการช่วยลดค่าครองชีพให้กบ ้ ้ ั ประชาชน เช่น การต่ออายุมาตรการขึ้นรถเมล์และรถไฟฟรี และโครงการมหกรรมธงฟ้าลดค่าครองชีพ เป็นต้น (3) การขยายตัวของการลงทุนทียังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีโครงการที่ขอรับการส่งเสริมผ่าน BOI ในไตรมาสแรก ่ ของปี 2555 จํานวน 470 โครงการ (เพิมขึนร้อยละ 14.9) มูลค่าเงินลงทุน 231 พันล้านบาท (เพิมขึนร้อยละ ่ ้ ่ ้ 106.7) โดยอุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภคได้รบความสนใจจากนักลงทุนต่างชาติมากทีสด ประกอบ ั ุ่ กับดัชนีความเชือมันทางธุรกิจ 3 เดือนข้างหน้าปรับตัวเพิมขึนทีระดับ 55.9 จากระดับ 51.4 ในไตรมาสก่อน ่ ่ ่ ้ ่ หน้า สะท้อนถึงความเชือมันของผูประกอบการทีปรับตัวดีขนภายหลังสถานการณ์อทกภัยได้คลีคลายลง ่ ่ ้ ่ ึ้ ุ ่ (4) แรงกดดันด้านราคาน้ํามันในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มลดลงจากในช่วง 4 เดือนแรกซึ่งจะส่งผลให้ แรงกดดันด้านเงินเฟ้อเริ่มผ่อนคลายลง คาดว่าราคาน้ํามันจะมีแนวโน้มลดลงในไตรมาสที่สองและสาม จากความไม่แน่นอนในเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของยุโรป โดยเฉพาะปัญหาหนี้สาธารณะในกรีซ และมี แนวโน้มจะปรับเพิ่มสูงขึ้นในไตรมาสที่สี่ตามความต้องการใช้น้ํามันที่เพิ่มขึ้นในช่วงฤดูหนาว อย่างไรก็ ตาม ยังมีปัจจัยสําคัญที่จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาน้ํามัน ได้แก่ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความ ขัดแย้งในตะวันออกกลาง โดยเฉพาะประเทศอิหร่าน และผลการเจรจาระหว่างประเทศอิหร่านกับ 6 ชาติมหาอํานาจ (ฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา และ จีน) ในเรื่องโครงการนิวเคลียร์ ของประเทศอิหร่านที่จะมีขึ้นในวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 รวมทั้งท่าทีของกลุ่มประเทศ OPEC ที่อาจ พิจารณาเพิ่มหรือลดกําลังการผลิต (5) เศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ แม้ว่าวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจยุโรประลอกใหม่มี แนวโน้มที่จะส่งผลให้กรีซผิดนัดชําระหนี้และส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจโลกมากขึ้นก็ตาม ซึ่งคาดว่าผลกระทบทางตรงของปัญหากรีซต่ออัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในช่วงที่เหลือของปีจะ ยังอยู่ในขอบเขตจํากัด โดยคาดว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2555 จะขยายตัวที่ร้อยละ 3.4 – 3.8
 ปัจจัยเสี่ยง

(1) ความผันผวนของระบบการเงินโลก จากปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจกรีซคาดว่าจะส่งผลต่อการเคลื่อนย้าย เงินทุนระหว่างประเทศและอัตราแลกเปลี่ยน นอกจากนั้นผลกระทบทางอ้อมจากแนวโน้มการผิดนัด ชําระหนี้ของกรีซยังมีความเสี่ยงที่จะส่งผลให้เศรษฐกิจโลกขยายตัวได้ต่ํากว่าที่คาดการณ์ (2) การปรับตัวของภาคการผลิตในประเทศต่อการเพิ่มขึ้นของค่าจ้างขั้นต่ํา และการหดตัวอย่างต่อเนื่อง ของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานสูงซึ่งเป็นข้อจํากัดต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงครึ่งปีหลังของปี โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องหนังซึ่งได้รับผลกระทบจากค่าแรงที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น (3) ความเสี่ยงของปัญหาภัยธรรมชาติต่อการผลิต โดยเฉพาะในภาคการเกษตร
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
24

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
 ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี

NESDB
2555.
2555 20 ก.พ. 55 21 พ.ค. 55 3.4-3.8 3.4-3.8 2.2 2.4 -0.2 -0.2 1.8 1.8 8.6 8.3 6.1-7.1 6.1-7.1 30.0-31.0 30.5-31.5 105-110 105-110 5.4 3.3 6.8 5.8 21.0 21.0

สมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2555 2554 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%) สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น จีน อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%) อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ํามัน (ดอลลาร์ สรอ. ต่อ บาร์เรล) ราคาส่งออก (%) ราคานําเข้า (%) จํานวนนักท่องเที่ยว (ล้านคน)
ที่มา: สศช.

ข้อสมมติฐานการประมาณ การเศรษฐกิจปี 2555 (1) ไม่มีอุทกภัยในขั้นวิกฤต หรือมีการเตรียมพร้อมในการ บริหารจัดการน้าอย่างมี ํ ประสิทธิภาพ (2) เศรษฐกิจโลกและปริมาณ การค้าโลกขยายตัวร้อยละ 3.4 – 3.8 และ 6.1 –7.1 ตามลําดับ (3) ราคาน้ํามันดิบดูไบเฉลี่ย เท่ากับ 105-110 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล (4) ราคาสินค้าส่งออกและ นําเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 และ 5.8 ตามลําดับ (5) อัตราแลกเปลี่ยน คาดว่า จะอยู่ที่ 30.5-31.5 บาทต่อ ดอลลาร์ สรอ. (6) นักท่องเที่ยวต่างชาติมี จํานวนประมาณ 21.0 ล้าน คน

3.9 1.7 1.4 -0.7 9.2 5.8 30.5 106.0 5.6 10.1 19.1

(1) ไม่ มี ภ าวะอุ ท กภั ย ในขั้ น วิ ก ฤติ หรื อ ในกรณี ที่ เ กิ ด อุ ท กภั ย ก็ ส ามารถบริ ห ารจั ด การน้ํ า ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในเขตนิคมอุตสาหกรรมและเขตอุตสาหกรรมเป็นต้น (2) เศรษฐกิจโลกในปี 2555 มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.4 – 3.8 ชะลอลงจากปี 2554 ที่ขยายตัว ร้อยละ 3.9 โดยปัญหาเสถียรภาพของเศรษฐกิจยุโรปซึ่งเกิดจากหนี้สาธารณะสูงยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยง สําคัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ขณะที่ปริมาณการค้าโลกคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.1-7.1 เศรษฐกิ จ สหรั ฐ อเมริ ก า คาดว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.4 ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น จากขยายตั ว ร้ อ ยละ 1.7 ในปี 2554 โดยในไตรมาสแรกของปี 2555 เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.2 จากไตรมาสก่อนหน้า (qoq, sa annualized) หรือขยายตัวร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ปรับตัวดีขึ้นจาก ไตรมาสก่อ นที่ ข ยายตั ว ร้ อ ยละ 1.6 โดยปั จ จัย สนั บ สนุน การขยายตั ว คือ มี ก ารเปลี่ ย นถ่ ายจากแรง ขับเคลื่อนของการเปลี่ยนแปลงสินค้าคงคลังมาสู่การขยายตัวของการบริโภคภาคครัวเรือน สะท้อนถึง ภาคเศรษฐกิจจริงสหรัฐฯ มีความเข้มแข็งมากขึ้น ขณะที่การส่งออกสุทธิหดตัวน้อยลงเนื่องจากการ ส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้น สะท้อนถึงอุปสงค์ของประเทศคู่ค้าของสหรัฐฯ ปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ตามคาดว่า เศรษฐกิจจะค่อยๆ ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องในปี 2555 โดยปัจจัยสําคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ คือ (1) การ บริโภคภาคครัวเรือนปรับตัวดีขึ้น โดยเห็นได้จากปริมาณจําหน่ายรถยนต์เดือนมีนาคม 2555 อยู่ที่ 14.3 ล้านคัน สูงสุดในรอบเกือบสี่ปี การปรับตัวดีขึ้นของภาคครัวเรือนเป็นผลมาจากตลาดแรงงานมีการ ปรับตัวดีอย่างต่อเนื่อง โดยอัตราการว่างงานเดือนเมษายน 2555 อยู่ที่ร้อยละ 8.1 ต่ําสุดในรอบ 3 ปี รวมทั้งอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพ (2) การปรับตัวดีขึ้นของภาคการผลิต โดยดัชนี PMI ภาคอุ ต สาหกรรมเดื อ นเมษายน 2555 อยู่ ที่ 54.8 เที ย บกั บ 53.4 ในเดื อ นมี น าคม (3) ภาค อสังหาริมทรัพย์มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น และ (4) การใช้จ่ายภาครัฐมีแนวโน้มลดลงไม่มากนัก แม้ว่า สหรัฐฯ กําลังเผชิญกับหนี้สาธารณะที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ยังคงเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงที่สําคัญ คือ (1) การหดตัวของเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สหรั ฐ ฯ ทั้ ง ทางด้ า นการค้ า และด้ า นตลาดเงิ น ตลาดทุ น ที่ จ ะได้ รั บ ความผั น ผวน และ (2) อั ต รา แลกเปลี่ยนมีแนวโน้มแข็งค่า เนื่องจากนักลงทุนมีความเชื่อมั่นในการถือเงินดอลลาร์ สรอ. มากกว่าเงิน ยูโร ซึ่งค่าเงินที่แข็งค่าขึ้นจะเป็นข้อจํากัดต่อการส่งออกของสหรัฐฯ เศรษฐกิจสหภาพยุโรป คาดว่าจะหดตัวเพียงเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.2 โดยในไตรมาสแรกเศรษฐกิจทรงตัว ร้อยละ 0.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ชะลอลงเมื่อเทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.7 ใน
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
25

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ไตรมาสก่อนหน้า โดยคาดว่าเศรษฐกิจมีแนวโน้มหดตัวในครึ่งปีแรก และจะฟื้นตัวอย่างช้าๆ ในครึ่งปี หลัง คาดว่าเศรษฐกิจกลุ่มประเทศ PIIGS มีแนวโน้มหดตัวทุกประเทศ ขณะที่เศรษฐกิจประเทศหลัก อย่างเช่น ฝรั่งเศสและเยอรมันมีแนวโน้มขยายตัวในระดับต่ํา ด้านนโยบายการเงินยังคงมุ่งเน้นการ กระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟื้นตัว ประกอบกับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อยังอยู่ในระดับต่ําทําให้การดําเนินนโยบาย เป็นแบบผ่อนคลายได้อย่างต่อเนื่อง ทั้ง การคงอัตราดอกเบี้ยระดับต่ํา และการเพิ่มปริมาณเงินในระบบ เศรษฐกิจ ขณะที่แนวทางการดําเนินนโยบายการคลังที่เน้นให้ความสําคัญกับการรักษาเสถียรภาพ ทางการคลังยังเป็นประเด็นที่ท้าทายเนื่องจากหลายประเทศที่ประสบปัญหาภาคเศรษฐกิจจริงยังคง อ่อนแอและอัตราการว่างงานสูง แต่อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงทิศทางนโยบายการคลังจะสร้างความ กังวลต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจยุโรปและเศรษฐกิจโลกเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจญี่ปุ่น คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.8 ซึ่งปรับตัวดีขึ้นจากหดตัวร้อยละ 0.7 ในปี 2554 การฟื้น ตัวของเศรษฐกิจในครึ่งปีแรกยังคงมีความเปราะบางและค่อยๆฟื้นตัว แต่ในครึ่งปีหลังคาดว่าเศรษฐกิจมี แนวโน้มแข็งแกร่งมากขึ้นและขยายตัวได้ดีกว่าในครึ่งปีแรก โดยปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ คือ (1) การขยายตัวของการลงทุนภาคก่อสร้างทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อฟื้นฟูและซ่อมแซมความ เสียหายจากผลกระทบของแผ่นดินไหว (2) การเพิ่มขึ้นของการเปลี่ยนแปลงสินค้าคงคลัง หลังจากหดตัว 4 ไตรมาสติดต่อกันในปี 2554 (3) การฟื้นตัวของภาคอุตสาหกรรมที่สําคัญ เช่น ยานพาหนะและ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในปี 2554 หดตัวประมาณร้อยละ 10.0 โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน มีนาคมขยายตัวร้อยละ 14.0 สูงสุดนับจากเดือนสิงหาคม 2553 และ (4) การปรับตัวดีขึ้นของการ ส่งออกสุทธิโดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากจากอุปสงค์ของประเทศคู่ค้าที่สําคัญอย่างสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้ม ปรับตัวดีขึ้น และภาคการผลิตภายในประเทศฟื้นตัว รวมทั้งค่าเงินเยนมีแนวโน้มอ่อนค่าลง โดยในไตร มาสแรกเฉลี่ยอยู่ที่ 79.36 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. และเดือนมีนาคมอยู่ที่ 82.43 เยนต่อดอลลาร์ สรอ. เที ย บกับ ไตรมาสสุด ท้า ยของปี 2554 ซึ่ง แข็ ง ค่า อยู่ ที่ 77.40 เยนต่อ ดอลลาร์ สรอ. อย่า งไรก็ต าม เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงมีปัจจัยเสี่ยงที่สําคัญ คือ การหดตัวของเศรษฐกิจยุโรปที่มีสัดส่วนของตลาดการ ส่งออกของญี่ปุ่นประมาณร้อยละ 11.0 ของการส่งออกทั้งหมด เศรษฐกิ จ จี น คาดว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 8.3 โดยในไตรมาสแรกเศรษฐกิ จ จี น ขยายตั ว ได้ ต่ํ า กว่ า ที่ คาดการณ์ ซึ่งขยายตัวเพียงร้อยละ 8.1 ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.9 ซึ่งจาก สถานการณ์ดังกล่าวประกอบกับอัตราเงินเฟ้ออยู่ระดับต่ํากว่าปีก่อนและยังถือว่ามีเสถียรภาพคาดว่า รัฐบาลจะดําเนินนโยบายการเงินแบบผ่อยคลายมากขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศให้ขยายตัว ได้ในระหว่างที่อุปสงค์จากต่างประเทศลดลง โดยเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 ธนาคารกลางจีนได้ ประกาศปรับลดสัดส่วนเงินทุนสํารองของธนาคารพาณิชย์ลงร้อยละ 0.5 และคาดว่าเครื่องมือทางการ เงินอื่นๆ จะถูกใช้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มปริมาณสินเชื่อ (3) ราคาน้ํามันดิบดูไบเฉลี่ยในปี 2555 คาดว่าจะอยู่ที่ 105-110 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล โดยใน ไตรมาสแรกราคาน้ํามันอยู่ที่ 115.11 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ขณะที่ในเดือนเมษายนและพฤษภาคม ราคาน้ํามันปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยที่ทําให้ราคาน้ํามันปรับตัวลดลง ได้แก่ (1) ความกังวลที่ เศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวมากกว่าที่คาดการณ์ โดยเฉพาะจากปัจจัยของแนวโน้มการหดตัวของเศรษฐกิจ สหภาพยุโรป (2) ปริมาณการผลิตน้ํามันในประเทศลิเบียมีแนวโน้มปรับตัวเข้าสู่ระดับปกติ หลังจากในปี 2554 ผลิตได้เพียง 0.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากกําลังการผลิตในปี 2553 ที่ 1.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน (3) ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. มีแนวโน้มแข็งค่า และ (4) กลุ่มประเทศ OPEC ยังมีกําลังการผลิตส่วนเกิน โดยใน ปี 2554 ผลิตเพียง 29.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับกําลังการผลิตที่ 31.3 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2551 ขณะที่ปัจจัยจะส่งผลให้ราคาน้ํามันปรับตัวเพิ่มขึ้น คือ (1) ความตึงเครียดทางการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะระหว่างประเทศอิหร่านกับสหภาพยุโรปและสหรัฐฯ ความกังวลที่เกิดขึ้นทําให้ราคาน้ํามัน คาดการณ์ปรับตัวสูงขึ้นและเป็นแรงขับเคลื่อนให้ราคาน้ํามันในตลาดซื้อขายปรับตัวสูงขึ้นด้วย (2) ความ ต้องการใช้น้ํามันของประเทศกําลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศจีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและส่งผลให้ความ
สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค
26

NESDB

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ต้องการใช้น้ํามันของโลกเพิ่มขึ้นจาก 87.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในปี 2554 เป็น 88.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในปี 2555 ตามการคาดการณ์ของ OPEC (3) มีความต้องการเก็งกําไรในกองทุนน้ํามันมากกว่าในช่วง ปกติ ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับการเก็งกําไรในตลาดทองคํา เนื่องจากสภาพคล่องในตลาดการเงินสูง แต่ ขณะที่ก ารลงทุนในสินทรั พย์อื่นๆ มีความเสี่ยงและความผันผวนสูง ทั้งตลาดหลักทรั พย์และตลาด พันธบัตร และ (4) ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีผลกระทบต่อแหล่งการผลิต (4) ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวประมาณร้อยละ 3.3 โดยไตรมาสแรกราคา ส่งออกขยายตัวเพียงร้อยละ 1.1 เนื่องจากราคาส่งออกสินค้าเกษตรหดตัวถึงร้อยละ 7.3 และคาดว่า ราคาส่งออกในช่วงที่เหลือจะปรับตัวสูงขึ้น โดยมีปัจจัยสนับสนุน คือ (1) ราคาส่งออกข้าวยังทรงตัวอยู่ใน ระดั บสู ง ซึ่ง เป็น ผลจากนโยบายรั บ จํา นํ าข้ า วของรั ฐ บาล และ (2) ต้ น ทุน การผลิต ภายในประเทศมี แนวโน้มสูงขึ้น ด้านราคานําเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวประมาณร้อยละ 5.8 โดยไตร มาสแรกขยายตัวร้อยละ 5.9 เนื่องจากการขยายตัวสูงของราคานําเข้าวัตถุดิบและเชื้อเพลิงที่ขยายตัว ร้อยละ 6.4 อย่างไรก็ตามคาดว่าในไตรมาสสองราคานําเข้าวัตถุดิบและเชื้อเพลิงมีแนวโน้มชะลอลงตาม ราคาน้ํามันที่ปรับลดลง ขณะที่ในไตรมาสสุดท้ายราคานําเข้าจะค่อยๆ ปรับตัวสูงขึ้น (5) อัตราแลกเปลี่ยน คาดว่าจะอยู่ที่ 30.5-31.5 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. โดยคาดว่าเงินบาทในช่วงครึ่งปี แรกมีแนวโน้มอ่อนค่าเนื่องจากการที่เงินดอลลาร์ สรอ. มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น อย่างไรก็ตามในครึ่งปีหลัง คาดว่าค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่ากว่าในครึ่งปีแรก เนื่องจาก (1) ดุลการค้ามีแนวโน้มเกินดุลมากขึ้น หลั ง จากการผลิ ต ภายในประเทศกลั บ มาผลิ ต ในระดั บ ปกติ (2) ปริ ม าณเงิ น ลงทุ น ไหลเข้ า เพิ่ ม ขึ้ น เนื่องจากความเชื่อมั่นในระบบเศรษฐกิจไทยปรับตัวดีกว่าในครึ่งปีแรก และ (3) การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ยุโรปส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลง (6) จํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2555 คาดว่าจะมีประมาณ 21.0 ล้านคน
 องค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี

NESDB

2555

(1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภครวมคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.4 โดยที่การใช้จ่ายภาคครัวเรือนมี แนวโน้มขยายตัวได้อย่างแข็งแกร่งที่ร้อยละ 4.5 เทียบกับปี 2554 ที่ขยายตัวได้เพียงร้อยละ 1.3 โดย ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของรายได้ของประชาชน และการฟื้น ตั ว อย่ า งรวดเร็ ว กว่ า ที่ ค าดการณ์ ข องภาคการผลิ ต ที่ สํ า คั ญ เช่ น อุ ต สาหกรรม การท่ อ งเที่ ย ว และ เกษตรกรรม ด้านการใช้อุปโภคบริโภคภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 จากที่ขยายตัวร้อยละ 1.1 ในปีก่อนหน้า (2) การลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 12.3 ขยายตัวทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยการลงทุนภาคเอกชนคาด ว่าจะขยายตัวระดับสูงอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 13.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 7.2 ในปี 2554 เนื่องจาก (1) การฟื้นตัวเร็วกว่าที่คาดการณ์ของการบริโภคสินค้าทุน เช่น การนําเข้าสินค้าทุน และ ปริมาณจําหน่ายรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ และ (2) แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของการลงทุนในอุตสาหกรรม สําคัญ เช่น ยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ ด้านการลงทุนภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.0 ปรับตัว ดีขึ้นจากหดตัวร้อยละ 8.7 ในปี 2554 โดยได้รับแรงส่งจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในโครงการที่ สําคัญๆ ของรัฐบาลเพื่อฟื้นฟูผลกระทบจากน้ําท่วมและแผนบริหารการจัดการทรัพยากรน้ํา (3) การส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ในปี 2555 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 15.1 โดยราคาส่งออก มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 3.3 ชะลอลงจากปี 2554 ที่ขยายตัวร้อยละ 5.6 ด้านปริมาณมีแนวโน้ม ขยายตัวร้อยละ 11.8 ปรับตัวดีขึ้นจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 10.2 โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการ ส่งออกรถยนต์มีแนวโน้มการขยายตัวสูงกว่าปี 2554 ปริมาณการส่งออกทั้งสินค้าและบริการคาดว่าจะ ขยายตัวร้อยละ 11.5

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

27

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
(4) มูลค่าการนําเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ในปี 2555 คาดว่าจะขยายตัวสูงถึงร้อยละ 22.3 โดย ราคานํ า เข้า คาดว่า จะขยายตัว ร้อยละ 5.8 ด้านปริ มาณการนํา เข้า มีแนวโน้ มขยายตัว ร้อ ยละ 16.5 ขยายตัวสูงกว่าร้อยละ 13.3 ในปี 2554 เนื่องจากมีความจําเป็นต้องนําเข้าเครื่องมือเครื่องจักรมากขึ้น เพื่อทดแทนหรือซ่อมแซมส่วนที่ได้รับผลกระทบจากน้ําท่วมและจากการปรับตัวดีขึ้นของการลงทุน ส่วนปริมาณการนําเข้าทั้งสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 14.2 ปรับตัวดีขึ้นจากขยายตัว ร้อยละ 13.7 ในปี 2554 (5) ดุลการค้า ดุล บริก าร และดุ ลบัญชี เดินสะพั ด คาดว่า ดุลการค้ าจะเกินดุ ลประมาณ 12.7 พั นล้า น ดอลลาร์ สรอ. ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 ที่เกินดุล 23.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เนื่องจากการนําเข้ายัง มีแนวโน้มขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ดุลบริการมีแนวโน้มขาดดุล 10.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่ง จะส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2555 มีแนวโน้มเกินดุล 2.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. หรือร้อยละ 0.7 ของ GDP (6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจปี 2555 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 3.5-4.0 และอยู่ในระดับ เดียวกันกับปี 2554 ที่ร้อยละ 3.8 ส่วนอัตราการว่างงานยังคงระดับต่ําอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 0.7

NESDB

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

28

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
5. ประเด็นการบริหารเศรษฐกิจในปี 2555 ควรให้ความสําคัญกับประเด็นต่างๆ ดังนี้
(1) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและเร่งรัดการดําเนินการตามแผนฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศเพื่อ ชดเชยการหดตัวของงบลงทุนภาครัฐในไตรมาสแรกในช่วงที่โครงการยังอยู่ในระหว่างการเตรียมความ พร้อม รวมทั้งการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน พร้อมกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว (2) การแก้ไขปัญหาให้กับภาคการผลิตที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ําท่วมที่ยังมีความล่าช้าในการฟื้นตัว โดยเฉพาะการผลิตในกลุ่มสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่การใช้กําลังการผลิตยังอยู่ในระดับ ต่ํา รวมทั้งภาคการผลิตที่ใช้แรงงานเข้มข้นและได้รับผลกระทบจากปัญหาทางเศรษฐกิจในประเทศที่เป็น ตลาดส่งออกโดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ เครื่องหนัง ในปี 2554 หดตัวร้อยละ 17.7 และ 18.0 ต่อเนื่องในไตรมาสแรกของปี 2555 ที่หดตัวร้อยละ 30.2 และ 31.6 ตามลําดับ (3) การดูแลและช่วยเหลือ ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ํา โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs ที่ใช้แรงงานเข้มข้น โดยการเร่งรัดประชาสัมพันธ์ให้มีการใช้ประโยชน์ จากมาตรการช่วยเหลือ SMEs เพื่อลดแรงกดดันด้านต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการและสนับสนุน การยกระดับประสิทธิภาพการผลิต การพิจารณามาตรการช่วยเหลือเพิ่มเติมสําหรับกลุ่มผู้ประกอบการที่ ไม่อยู่ในข่ายที่จะได้รับประโยชน์จากมาตรการดังกล่าว การเตรียมการเพื่อช่วยเหลือแรงงานที่ถูกเลิกจ้าง และลดชั่วโมงการทํางานในช่วงของการปรับตัว รวมถึงการเร่งรัดโครงการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน แก่ผู้ได้รับความเสียหาย ปี 2554 ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย วงเงินตามโครงการทั้งสิ้น 300,000 ล้านบาท ซึ่งปัจจุบันมีอัตราการเบิกจ่ายอยู่เพียงประมาณร้อยละ 0.97 จากวงเงินรวม (4) การแก้ไขปัญหาราคาสินค้า โดยเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภคของครัวเรือนให้มีความสอดคล้องและเป็น ธรรมตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ผู้ผลิตวัตถุดิบ ผู้ค้าคนกลาง และผู้บริโภค ซึ่งจะมีผลต่อค่าครองชีพของ ประชาชนและภาวะเงินเฟ้อของประเทศ รวมถึงการประสานแผนงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ วางแผนล่ ว งหน้ า เพื่ อ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ด้ า นการผลิ ต การแปรรู ป และการตลาดของสิ น ค้ า เกษตร สอดคล้องกับความผันผวนตามฤดูกาลของแต่ละสินค้า และลดความผันผวนของราคา (5) การดําเนินนโยบายการเงินและอัตราแลกเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ แม้ว่า การขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มเร่งตัวขึ้นแต่เป็นการขยายตัวที่ได้รับปัจจัย สนับสนุนส่วนหนึ่งจากฐานการผลิตที่ต่ําในปีที่ผ่านมา นอกจากนั้นการขยายตัวของภาคการผลิตในช่วงที่ เหลือของปียังต้องเผชิญกับแรงกดดันด้านค่าแรงที่เพิ่มสูงขึ้นและความเสี่ยงจากปัญหาวิกฤติการณ์ยุโรป ภายใต้แนวโน้มดังกล่าว การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปียังคงต้องอาศัยการดําเนินนโยบาย การเงินและอัตราแลกเปลี่ยนที่เอื้ออํานวยต่อการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

NESDB

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

29

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
สถานการณ์ยูโรโซนในปี 2555
 สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้ม

NESDB

(1) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองในกรีซและมีแนวโน้มการเปลี่ยนขั้วรัฐบาลซึ่งสนับสนุนการใช้มาตรการการคลังทีผอนคลาย ่่ มากขึ้น เพิ่มความเสี่ยงต่อการพิจารณาให้การสนับสนุนทางการเงินจากกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (European Financial Stability Facility: EFSF) และเพิ่มโอกาสในการแยกตัวออกจากกลุ่มยูโรโซน ซึ่งอาจส่งผลให้ระบบสถาบันการเงินและโครงสร้างทาง เศรษฐกิจของกลุ่มยูโรโซนได้รับผลกระทบในวงกว้าง อย่างน้อยในระยะแรกของการปรับตัว ซึ่งอาจใช้เวลาถึง 2-3 ไตรมาส หรือนานกว่า นั้น ซึ่งสถานการณ์น่าจะชัดเจนขึ้นในไตรมาสที่ 3 หลังการเลือกตั้งรอบใหม่ของกรีซในวันที่ 17 มิถุนายน 2555 (2) ในระยะสั้น ผลจากมาตรการปล่อยเงินกู้ระยะยาวเป็นกรณีพิเศษของธนาคารกลางยุโรป (Long-Term Refinancing Operations: LTRO) น่าจะทําให้สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในยุโรปเพิ่มขึ้นหากมีการกระจายลงสู่ภาคธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยเพิ่มอุป สงค์ในกลุ่มยูโรโซนและชดเชยภาวะการหดตัวของเศรษฐกิจในหลายประเทศได้บางส่วน อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวอาจเป็นภาระ ความเสี่ยงต่อสถานะทางการเงินของ ECB และเพิ่มความยุ่งยากในการจัดการปัญหาเงินเฟ้อที่มีลักษณะทวิลักษณ์โดยใช้นโยบายอัตรา ดอกเบี้ยเดียวของยูโรโซนในระยะต่อไป

(3) ประเทศส่วนใหญ่ของยูโรโซนยังมีสถานะขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ในขณะที่ เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์ ยังเกินดุล ทุกประเทศขาดดุล
งบประมาณ โดยเฉพาะไอร์แลนด์ กรีซ และสเปน สะท้อนถึง twin deficits ที่ชัดเจนของกลุ่มยูโรโซน ซึ่งชี้ให้เห็นว่าปัญหาการขาดดุล งบประมาณในระดับสูงและการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด จะส่งผลกระทบถึงการจํากัดการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐโดยตรง ทําให้ แนวโน้มของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในยูโรโซนจําเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากภายนอก ทั้งที่เป็นเงินช่วยเหลือ และการลงทุน โดย ภาคเอกชนต้องมีบทบาทมากขึ้น (4) ประเทศที่มีความเสี่ยงต่อความสามารถในการชําระหนี้ที่ครบกําหนดในปี 2555 นอกเหนือจากกรีซแล้วยังมีอิตาลี และสเปน โดยมีภาระ รายไตรมาสในช่วงที่เหลือของปีค่อนข้างสูง เฉลี่ยประมาณ 1.3 แสนล้านเหรียญ สรอ. สําหรับอิตาลี และ 6.1 หมื่นล้านเหรียญ สรอ. สําหรับสเปน รวมทั้งโปรตุเกส และไอร์แลนด์ที่ต้องมีการทบทวนความช่วยเหลือจากคณะกรรมการร่วมของสหภาพยุโรป IMF และ ECB (Troika) อีกครั้งในเดือนพฤษภาคม และกรกฎาคมตามลําดับ โดยเฉพาะไอร์แลนด์ ที่นอกจากจะมีปัญหาภาระหนี้ระดับสูงแล้วยังมี ปัญหาการขาดดุลงบประมาณระดับสูงถึงประมาณร้อยละ 13 ของ GDP เป็นข้อจํากัดต่อการบริหารงบประมาณเพื่อให้สอดคล้องกับ เงื่อนไขการขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป (EFSF)

กําหนดเวลาการชําระหนี้ปี 2555 - กลุ่มประเทศ PIIGS หน่วย: ล้านเหรียญ สรอ. โปรตุเกส ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 20,580 5,046 5,949 อิตาลี 125,312 130,621 132,137 กรีซ 26,877 22,143 4,726 สเปน 63,726 65,501 54,349

ที่มา: Bloomberg, มีนาคม 2555

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

30

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
 อันดับความน่าเชื่อถือของประเทศในกลุ่มยูโรโซน

NESDB

ผลจากวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่ม PIIGS ทําให้สถาบันจัดอันดับเครดิตปรับลด credit rating ของกลุ่ม PIIGS ลงตามลําดับ อย่างไรก็ตาม หลังจากกรีซมีการปรับโครงสร้างหนี้บางส่วน ทําให้อันดับปรับเพิ่มสูงขึ้น 4 อันดับ จากเดิม SD เป็น CCC
S&P ฝรั่งเศส เยอรมัน เบลเยี่ยม สเปน อิตาลี กรีซ ไอร์แลนด์ โปรตุเกส สหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น Rating AA+ AAA AA BBB+ BBB+ CCC BBB+ BB AA+ AAAAอันดับเครดิตของกลุมยูโรโซน และประเทศสําคัญ ่ Moody's Outlook Rating Outlook Negative Aaa Negative Stable Aaa Stable Negative Aa3 Negative Negative A3 Negative Negative A3 Negative Stable C Negative Ba1 Negative Negative Ba3 Negative Negative Aaa Negative Stable Aa3 Positive Negative Aa3 Stable Fitch Rating AAA AAA AA A ACCC BBB+ BB+ AAA A+ AA Outlook Negative Stable Negative Negative Negative Stable Negative Watch Negative Negative Stable Negative

ที่มา: รวบรวมโดย สศช., 20 พฤษภาคม 2555  ผลกระทบต่อไทย

(1) สถานการณ์ของกรีซและกลุ่ม PIIGS รวมทั้งความผันผวนของการใช้มาตรการการคลังแบบเข้มงวดของยุโรปที่สร้างความแตกแยกทั้งทาง การเมือง และสังคมในหลายประเทศ กระทบต่อความเชื่อมั่นของตลาด และอาจเปิดโอกาสให้มีการเก็งกําไร โดยใช้ความผันผวนของ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นเครื่องมือ ดังนั้น คาดว่าค่าเงินและอัตราดอกเบี้ยในกลุ่มยูโรโซนมีแนวโน้มผันผวนตลอดทั้งปี ซึ่งอาจเป็นปัจจัย กระทบที่สร้างความผันผวนในตลาดการเงินในประเทศไทยได้อย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆ (2) ความสําคัญของกลุ่มยูโรโซนในฐานะประเทศคู่ค้าของไทย แม้จะมีมูลค่าการส่งออกสูงขึ้น แต่สัดส่วนการส่งออกลดลงอย่างต่อเนื่อง จาก ร้อยละ 15.8 ในปี 2543 เหลือเพียงร้อยละ 9.4 ในปี 2554 ในขณะที่ตลาดส่งออกในเอเชีย และตะวันออกกลางมีความสําคัญเพิ่มขึ้นทั้ง มูลค่าและสัดส่วน โดยเฉพาะจีน และอาเซียน ซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.1 และ 19.3 ในปี 2543 เป็นร้อยละ 12.0 และ 23.7 ใน ปี 2554 ตามลําดับ สะท้อนถึงบทบาทความสําคัญของการค้าไทยกับประเทศในภูมิภาค และตลาดใหม่เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญเทียบ กับตลาดเดิม อย่างไรก็ตาม ความเชื่อมโยงของการค้าระหว่างตลาดในภูมิภาคกับยุโรปที่มีลักษณะของการพึ่งพาทางการค้าสูง อาจส่งผล ให้การส่งออกของไทยทั้งทางตรงและทางอ้อมได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจในยุโรป แต่คาดว่าจะอยู่กรอบจํากัด

สัดส่วน (ร้อยละ) 2543 สหรัฐอเมริกา 21.3 ญี่ปุ่น 14.7 ยูโรโซน 15.8 ตะวันออกกลาง 3.0 อาเซียน-9 19.3 จีน 4.1 อื่นๆ 21.7 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

2544 20.3 15.3 16.2 3.3 19.3 4.4 21.3

2545 19.8 14.6 15.0 3.6 19.9 5.2 21.9

สัดส่วนการส่งออกของไทยไปยังตลาดสําคัญ 2546 2547 2548 2549 17.0 16.1 15.3 15.0 14.2 14.0 13.6 12.6 14.7 14.3 12.9 13.0 3.6 3.8 4.0 4.4 20.6 22.0 22.0 20.8 7.1 7.4 8.3 9.0 22.8 22.4 23.9 25.1

2550 12.6 11.8 12.9 4.9 21.3 9.6 26.9

2551 11.4 11.3 12.0 5.3 22.6 9.1 28.3

2552 10.9 10.3 10.5 5.7 21.3 10.6 30.6

2553 10.3 10.5 9.8 4.9 22.7 11.0 30.7

2554 9.6 10.5 9.4 4.5 23.7 12.0 30.3

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

31

21 พฤษภาคม 2555

XvÉÇÉÅ|v bâàÄÉÉ~
ประมาณการเศรษฐกิจปี 2555 ปี 2552 9,041.6 135,144 263.3 3,936.0 -2.3 -9.2 -13.1 2.7 0.1 -1.1 7.5 -12.5 150.7 -14.0 -14.2 -21.5 118.1 -25.2 -23.2 32.6 21.9 8.3 -0.9 1.9 ข้อมูลจริง ปี 2553 ปี 2554 10,104.8 10,540.1 150,117 155,926 318.8 345.6 4,735.5 5,113.0 7.8 0.1 9.4 3.3 13.8 7.2 -2.2 -8.7 5.1 1.3 4.8 1.3 6.4 1.1 14.7 9.5 193.7 225.4 28.4 16.4 17.7 10.2 21.5 13.7 161.9 201.9 37.0 24.7 26.8 13.3 31.8 23.5 13.2 11.9 4.1 3.4 3.3 3.7 3.8 4.2

NESDB

GDP (ณ ราคาประจําปี: พันล้านบาท) รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี) GDP (ณ ราคาประจําปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.) รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี) อัตราการขยายตัวของ GDP (ณ ราคาคงที่, %) การลงทุนรวม (ณ ราคาคงที่, %) ภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่, %) ภาครัฐ (ณ ราคาคงที่, %) การบริโภครวม (ณ ราคาคงที่, %) ภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่, %) ภาครัฐบาล (ณ ราคาคงที่, %) ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %) มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) อัตราการขยายตัว (%) อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %) ปริมาณการนําเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %) มูลค่าการนําเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)1/ อัตราการขยายตัว (%) อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %) ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)1/ ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 1/ ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%) เงินเฟ้อ (%) ดัชนีราคาผู้บริโภค GDP Deflator

ประมาณการ ปี 2555 20 ก.พ. 55 21 พ.ค. 55 11,572.3 11,573.1 170,403 170,415 379.4 373.3 5,587.0 5,497.3 5.5-6.5 5.5-6.5 14.2 12.3 14.5 13.0 13.0 10.0 4.4 4.4 4.5 4.5 3.5 3.5 11.5 11.5 264.2 259.5 17.2 15.1 11.8 11.8 15.1 14.2 250.9 246.8 24.3 22.3 17.5 16.5 13.3 12.7 4.5 2.7 1.2 0.7 3.5-4.0 3.5-4.0 3.5-4.0 3.5-4.0

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 21 พฤษภาคม 2555 หมายเหตุ: 1/ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงวิธีการคํานวณดุลการชําระเงินให้เป็นไปตามคู่มือดุลการชําระเงินฉบับที่ 6 ของ IMF (ดูรายละเอียดที่ http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/EconomicAndFinancial/ExternalSector/Pages/ Newtable.aspx) ส่งผลให้มูลค่าการนําเข้าทีใช้เป็นฐานในการประมาณการในครั้งก่อนหน้าลดลง ่

สํานักยุทธศาสตรและการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

32

21 พฤษภาคม 2555

Similar Documents

Premium Essay

Good

...Econ 251 7:30 a.m. in EE 129 1:30 and 3 p.m. in CL50 224 Spring 2012 Instructor: Dr. Kelly Blanchard Office: KRAN 477 Office Phone: 494-7956 Office Hours: Tuesdays and Wednesdays 9-11 a.m. and by appointment Email: khb@purdue.edu Teaching Assistants: Curtis Ball (ball10@purdue.edu) KRAN B024E T/Th 11:30-1:30 p.m. 496-1664 Ross Winegar (rwinegar@purdue.edu) KRAN 487 W/Th 3-5 p.m. Weekly Review Session: Thursdays 6-7 p.m. in KRAN G9 Exam Review Sessions: Friday, February 10 from 6-7 p.m. in WTHR 200 and Monday, March 26 from 6-7 p.m. in WTHR 200 Administrative Assistant: Bree Miller KRAN 443 496-7964 (9 a.m. – 1 p.m. M-Th) bree2@purdue.edu Course Web Site(s): blackboard.purdue.edu (for accessing grades and course information or postings) www.pearsonmylabandmastering.com (for e-text, online homework, study guide) Course Overview: Econ 251 is intended to introduce you to microeconomic theory and its application in everyday life. The course will explain how individual consumers and producers together determine the prices and quantities of goods available in the marketplace. We will investigate the underlying incentives of consumers to buy goods and of firms to produce products that satisfy consumer demand. In addition, we'll look at how government can help or hinder market efficiency. The textbook for the course is Microeconomics for Economics 251, published by Pearson Custom Publishing (ISBN: 1256128546). The publisher has created an online resource site...

Words: 1729 - Pages: 7

Premium Essay

Next Day Air Case

...Homework Assignment 4 (20 pts) - Due Wednesday 11/14/2012 8:00am Please complete the Next Day Air Case questions for Chapter 3 (handed out in class and posted to Blackboard) as per the instructions below: A, Complete Question 3 – noting that this is all for using dial-up modems. B. Complete Question 4. C. Complete Question 2 – as if you were were redesigning their network(s). D. Complete Question 5. Post to the Assignments area of Blackboard, and bring a hardcopy to class to turn in. Please turn in hardcopy at start of class in order to not lose any points for being late. Ex e r c is e s 1 . Pres id en t Coon e is b a ffled a b ou t h ow d igita l in form a tion from a com p u ter ca n b e s en t over a n etwork con n ection . Prep a re a b rief p os ition p a p er for m a n a gem en t exp la in in g th e wa y in form a tion is tra n s ferred from on e com p u ter to a n oth er over d igita l lin es . Keep it s im p le. Be s u re to d es crib e th e typ es of d evices u s ed in d a ta tra n s m is s ion . In clu d e com m en ts on th e role of d a ta com p res s ion in in crea s in g tra n s m is s ion ra tes . J u s tify th e ob s erva tion th a t a s a gen era l ru le, it is b es t to p u rch a s e th e fa s tes t d evices you r com m u n ica tion s lin es ca n s u p p ort. 2 . As you b egin th in k in g a b ou t th e red es ign of th e n etwork , you rea lize th a t th ere a re va riou s typ es of m ed ia to ch...

Words: 1066 - Pages: 5

Premium Essay

Trilement

...Journal of International Money and Finance xxx (2014) 1e24 Contents lists available at ScienceDirect Journal of International Money and Finance journal homepage: www.elsevier.com/locate/jimf Living with the trilemma constraint: Relative trilemma policy divergence, crises, and output losses for developing countries Joshua Aizenman a, 1, Hiro Ito b, * a b University of Southern California and the NBER, University Park, Los Angeles, CA 90089-0043, USA Department of Economics, Portland State University, 1721 SW Broadway, Portland, OR 97201, USA a b s t r a c t JEL classification: F31 F36 F41 O24 Keywords: Impossible trinity International reserves Financial liberalization Financial crisis Exchange rate regime This paper investigates the potential impacts of the degree of divergence in open macroeconomic policies in the context of the trilemma hypothesis. Using an index that measures the relative policy divergence among the three trilemma policy choices, namely monetary independence, exchange rate stability, and financial openness, we find that emerging market countries have adopted trilemma policy combinations with the least degree of relative policy divergence in the last 15 years. We find that a developing or emerging market country with a higher degree of relative policy divergence is more likely to experience a currency or debt crisis. However, a developing or emerging market country with a higher degree of relative policy divergence...

Words: 14567 - Pages: 59

Premium Essay

Mark

...competition in the solar panel industry. Solar firms manufacture panels that are differentiated both vertically and horizontally, and compete by setting quantities. The equilibrium of the model is consistent with a set of stylized facts that we document, including variation in prices, markups and market shares across firms. We calibrate the model using a new dataset data on prices, costs and shipments of leading solar companies, as well as solar sales in four leading markets. The calibrated model is applied to evaluate the impact of a decline in the price of polysilicon, a key raw material used in the manufacture of solar panels, on the equilibrium price of solar panels. © 2013 Elsevier B.V. All rights reserved. Article history: Received 12 June 2012 Received in revised form 14 May 2013 Accepted 20 May 2013 Available online 14 June 2013 JEL classification: L19 Ł13 O30 Keywords: Photovoltaics Competition Polysilicon 1. Introduction The electricity generation sector is the leading contributor of greenhouse gas emissions. Most plans to stabilize greenhouse gas emissions view solar photovoltaics as an electricity generation technology with potential to replace a sizeable section of fossil fuel generation (see Nakicenovic and Riahi, 2002; Baker and Solak, 2011; Lewis and Nocera, 2006). At present however, electricity from solar photovoltaics constitute a very small fraction of the world...

Words: 8348 - Pages: 34

Premium Essay

Iit for the Sytem of the System

...HOSTED BY Available online at www.sciencedirect.com Wine Economics and Policy 4 (2015) 116–127 www.elsevier.com/locate/wep Wine consumption and sales strategies: The evolution of Mass Retail Trading in Italy Caterina Continia,n, Caterina Romanoa, Gabriele Scozzafavaa, Fabio Boncinellia, Leonardo Casinia a Dipartimento di Gestione dei Sistemi Agrari, Alimentari e Forestali, Università degli Studi di Firenze, P.le delle Cascine, 18, 50144 Firenze, Italy Received 9 September 2015; received in revised form 20 November 2015; accepted 5 December 2015 Available online 11 December 2015 Abstract The recent economic crisis has brought considerable changes also to food consumption: on one hand, many products have recorded consistent absolute declines in demand, while on the other hand, we have witnessed preferences shift towards low-cost foods or, in any event, foods of lower quality standards. In order to study these phenomena and, especially, the strategies firms adopt to confront them, the wine sector constitutes a particularly interesting focus due to its wide supply range and the elevated reactivity to price and income of demand. Our paper intends to take a close look at wine consumptions, focusing on the sales made on the Mass Retail Trading (MRT) channel from 2009 to 2013, and to conduct a thorough analysis of the performances of the single products, in view of pointing out the sector's overall trend, as well as the principal typologies of wine, in terms of their sales results...

Words: 9917 - Pages: 40

Free Essay

Managerial Finance

...Delaware State University – College of Business Department of Accounting, Economics and Finance Managerial Finance (43-300-02 - CRN#17392) Spring 2014 Place & Time Bank of America Building, Room 208 T&TH 12:00 – 1:15p.m. Instructor: Nancy Ning, PhD Office: Bank of America Building, Room 212F Office Hours: T&TH 11:00 – 11:50 a.m., 2:50 – 4:00 p.m.; W 1:00 – 3:00 p.m. and by appointment Email: zning@desu.edu Phone: 857-6966 REQUIRED MATERIALS: 1. Principles of Managerial Finance, Brief (6th ed.), plus MyFinanceLab, by Lawrence Gitman & Chad Zutter, Pearson/Prentice Hall, 2011. ISBN-10: 013611945X or ISBN-13: 978-0136119456. 2. Financial calculator: the Texas Instruments’ TI BAII PLUS is recommended. The link http://www.tvmcalcs.com/calculators/baiiplus/baiiplus_page1 gives a tutorial for the use of the calculator. PREREQUISITES: The following courses must have been completed previously with a grade of C or better: ACCT-205 and ECON-208. Students who have not met these prerequisites must drop this course. COURSE DESCRIPTION: The concepts developed in this course form the foundations for the area of finance. Major topics may include time value of money, valuation of stocks and bonds, risk and return, capital...

Words: 1567 - Pages: 7

Premium Essay

Innovation and Imitation Effects in the Mobile

...Serv Bus (2012) 6:265–278 DOI 10.1007/s11628-012-0135-0 EMPIRICAL ARTICLE Innovation and imitation effects in the mobile telecommunication service market Sang-Gun Lee • Byeonghwa Park • Si-Hyeon Kim Hong-Hee Lee • Received: 11 February 2011 / Accepted: 26 January 2012 / Published online: 15 May 2012 Ó Springer-Verlag 2012 Abstract This study investigates adoption patterns of the first mover and the followers in the Information and Communication Technology industry. The continuous behavior of adopters over time is difficult to analyze and most previous studies were cross-sectional rather than longitudinal. In order to overcome these limitations, a mathematical diffusion model with verified official time-series data is used to analytically investigate the impact of both innovation and imitation effects on the mobile phone adoption in South Korea. The results showed that the imitation effect of the first mover was larger than those of the followers in the mature mobile telecommunication services market in South Korea. The innovation effect of the follower was larger than that of the first mover, and the innovation effect was larger than the imitation effect in the market. Keywords Innovation effect Á Imitation effect Á Diffusion model Á Mobile telecommunication market S.-G. Lee Department of Business Administration, School of Business Administration, Sogang University, Shinsu-dong #1 Mapo-gu, Seoul 121-742, Korea e-mail: sglee1028@yahoo.com B. Park College of Business Administration...

Words: 6312 - Pages: 26

Premium Essay

Computational Finance

...Bootstrapping Estimates of the CER Model Econ 424/Amath 540 Eric Zivot Summer 2012 Updated: July 17, 2012 © Eric Zivot 2006 Monthly Returns on MSFT, SBUX and S&P 500 0.0 -0.4 returns Returns on Microsoft Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 0.0 -0.4 returns Returns on Starbucks Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 -0.15 returns 0.05 Returns on S&P 500 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 © Eric Zivot 2006 1 Estimated Standard Errors > se.muhat = sigmahat.vals/sqrt(nobs) > rbind(muhat.vals,se.muhat) sbux msft sp500 muhat.vals 0.0277 0.0275 0.01253 se.muhat 0.0135 0.0106 0.00378 > se.sigma2hat = sigma2hat.vals/sqrt(nobs/2) > rbind(sigma2hat.vals,se.sigma2hat) sbux msft sp500 sigma2hat.vals 0.01845 0.01141 0.00143 se.sigma2hat 0.00261 0.00161 0.00020 > se.sigmahat = sigmahat.vals/sqrt(2*nobs) > rbind(sigmahat.vals,se.sigmahat) sbux msft sp500 sigmahat.vals 0.1358 0.1068 0.0378 se.sigmahat 0.0096 0.0075 0.0026 © Eric Zivot 2006 R function sample() # random permutations of the...

Words: 1322 - Pages: 6

Premium Essay

Aaaa

...Slide 4. 1 Chapter 4 E-Environment David Chaffey, E-Business & E-Commerce Management, 5th Edition, © Marketing Insights Limited 2012 Slide 4. 2 Learning Outcomes • Identify the different elements of an organization macro-environment that impact on an organization‟s e-business and e-marketing strategy • Assess the impact of legal, privacy and ethical constraints or opportunities on a company • Assess the role of macro-economic factors such as economics, governmental e-business policies, taxation and legal constraints. David Chaffey, E-Business & E-Commerce Management, 5th Edition, © Marketing Insights Limited 2012 Slide 4. 3 Management Issues • What are the constraints such as legal issues placed by the e-environment on developing and implementing an e-business strategy? • How can trust and privacy be assured for the customer while seeking to achieve marketing objectives of customer acquisition and retention? • Assessment of the business relevance of technological innovation. David Chaffey, E-Business & E-Commerce Management, 5th Edition, © Marketing Insights Limited 2012 1 Slide 4. 4 Activity 4.1 Introduction to Social, Legal and Ethical Issues • List all the social, legal and ethical issues that the manager of a sell-side e-commerce website needs to consider to avoid damaging relationships with users of his or her site or which may leave the company facing prosecution. You can base your answer on issues which may concern...

Words: 2654 - Pages: 11

Premium Essay

Doc, Docx Pdf

...Free eChapters (FALL 2012) eChapters offer students immediate access to the first few chapters of their textbooks while they are waiting for the print book to arrive. eChapters help students to keep up with required reading and assignments until they receive their course material, without having to pay expedited shipping costs. eChapters that are available from the publisher are attainable free of charge. How do students gain access to free eChapters? Not all courses or textbooks have eChapters available. For all courses where eChapters are available, the files are located in the student’s Blackboard course shell under the Student Center. Below is a list of courses with eChapters loaded into the course shells, giving students free access as of the first day of classes. * = eChapters are forthcoming Course ID ACC100 ACC206 ACC303 ACC304 ACC305 ACC306 Text Title Accounting Principles – 9th edition Accounting Principles – 9th edition Intermediate Accounting 14e Intermediate Accounting 14e Intermediate Accounting 14e Microcomputer Applications for Accounting Excel 2010 Microsoft® Excel 2010: A Case Approach, Complete, 1st Edition, copyright 2011 SOUTH WESTERN FEDERAL TAXATION 2012: COMPREHENSIVE, 36th ed. South-Western Federal Taxation 2013: Corporations, Partnerships, Estates and Trusts, 36th Edition Cost Accounting 13th 09 ed. Advanced Accounting 4th 10th ed. Auditing & Assurance Services 13th 10 ed. Core Concepts of Government and Not for Profit Accounting 2nd ed., 2011 ed ACC...

Words: 3676 - Pages: 15

Premium Essay

Business Management

...Mexico • Singapore • Spain • United Kingdom • United States ge Le ar ni ng BUSN BUSN BUSN 6, 6th Edition Kelly | McGowen | Williams © 2014 Cengage Learning. All rights reserved. Senior Project Development Manager: Linda deStefano Market Development Manager: Heather Kramer Senior Production/Manufacturing Manager: Donna M. Brown Production Editorial Manager: Kim Fry Sr. Rights Acquisition Account Manager: Todd Osborne en C Printed in the United States of America ga ge Le Compilation © 2013 Cengage Learning ISBN-13: 978-1-285-88034-1 ISBN-10: 1-285-88034-X Cengage Learning 5191 Natorp Boulevard Mason, Ohio 45040 USA ALL RIGHTS RESERVED. No part of this work covered by the copyright herein LL RIGHT th repro reprodu ted, s may be reproduced, transmitted, stored or used in any form or by any means electro graphic, electronic, or mechanical, including but not limited to photocopying, scann di recording, scanning, digitizing, taping, Web distribution, information networks, a or information storage and retrieval systems, except as permitted under o t Section 107 or 108 of the 1976 United States Copyright Act, without the prior writ written permission of the publisher. pro For product information and technology assistance, contact us at Cen Cengage Learning Customer & Sales Support, 1-800-354-9706 For permission to use material from this text or product, submit all requests online at cengage.com/permissions Further permissions questions can be...

Words: 44673 - Pages: 179

Premium Essay

Motivation of Hr

...2014 -HFT2220-Human Resources Management -Sections RXD -Fall 2014 Employees Motivation in Hospitality Industry 李春峥 5468744 童品涵 5469018 潘 超 5486745 2014-12-11 Content 1. Background ....................................................................................................... 3 1.1 Case 1 ........................................................................................................ 3 1.2 Case 2 ........................................................................................................ 4 2. Theory and System about employee motivation ............................................ 5 2.1 Two-factor theory: ................................................................................. 5 2.2 Expectation theory: ............................................................................... 6 2.3 Equity theory: ........................................................................................ 7 2.4 Reinforcement theory: .......................................................................... 7 2.5 Incentive principle and system ............................................................... 8 2.6 Full Spectrum Organization Employee Motivation Strategy .............. 9 3. Workplace C .A.R.E........................................................................................ 10 4. Conclusion ....................................................................................................... 12 Reference ..................................

Words: 2636 - Pages: 11

Free Essay

Mba Ced

...MBAC 6101 ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ Summer 2016 MBAD CED 6101 Business and Community Development II Capitalist development creates winners and losers, both socially and geographically. The fundamental process of capitalism is the transfer of wealth created by particular people in particular places into the hands of other people in other places. Communities that are unable to Jorge Sousa, Ph.D Contact ​ sousa@ualberta.ca capture the wealth that they create tend to decline. Sustainable economies require rooting wealth within communities. Businesses are the organizations in a society that create wealth. They can be used to exploit a region and extract a community’s wealth or they can be used to ground wealth in a community. The course will explore the relationship between business and the community. At the outcome students will have an appreciation for the challenges and issues community-based business surrounding institutions as well as an understanding of how those challenges are currently being met by existing community businesses. ​ ​Learning Activities The classroom will follow a seminar model. This means that we are all responsible for the success of the classroom discussion. As well as focussing on set readings, the class will use case studies for shaping the seminar discussions. Being prepared for class is essential for productive discussion. While class activity may focus on the readings, the readings will...

Words: 2615 - Pages: 11

Free Essay

Paper on Marketing

...Data of Phas-II Sr no 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 NAME Abdul Hafeez Abu Bakar Siddique Awais Munir Basharat Mahboob Maroof Ilyas Mazhar Iqbal Miss Ayesha Ch. Miss Fariha Iftikhar Miss Kashaf Yaseen Miss Ujala Ashraf Muhammad Abdullah Waleed Muhammad Aftab Muhammad Essa Khalid Muhammad Khalid Hameed Muhammad Maqsood Khan Muhammad Shoaib Muhammad Waqar Murzooq Saleem Noor Nauman Altaf Roman Majeed Syed Ahmad Hassan Bukhari Waqar Ali Zain Qayyum Abdul Ghaffar ABDUL REHMAN Abdul Rehman ABDUL SHAKOOR Abrar Anwar ABRAR JAMIL ADEEL AHMED ADEEL IRSHAD ADNAN SHAUKAT Aftab Shaukat Ahmed Zeeshan Ahsan Mahmud AIMEN BASHIR ALI AUN ALI EHSAN MANJ ALI EJAZ ALI HAMED ALI MEHBOOB ALI USMAN BASHIR Allah Ditta Shahid Ameer Hamza ANAM ALVI ANAM MOOSA Anam Ullah Aneel Shahzad ANUM INTISAR ANUM JAVED ARSLAN RAZZAQ CNIC 3310226618167 3310114158887 3530374620369 3830212044729 3310246045471 3640282454573 3310068099318 3310208917468 3430126117362 3110248981000 3660180459853 3660119940117 3210224181181 3310054615453 3660215126755 3430288411671 3310221134839 3310286092337 3310267032475 3330104275587 3130374936045 3530220857361 3310031746769 3520130546281 3540489657861 3230412338735 3310206565785 3310425262179 3510288617907 3310002339509 3310271578631 3310330195673 3410434351359 3310694673473 3310266881555 3310094300496 3550103015009 3410316103425 3410254910063 3640240257955 3310280974795 3310365417863...

Words: 32408 - Pages: 130

Premium Essay

Us-Led Tpp and China-Led Acep

...1 of 17 Xianghui(Ray) Chen 2153583 China and Global Financial Crisis US-Led TPP VS China-Backed RCEP —Applying Main IR Theories To US Policy-Making Process And Relevant Developments The backdrop of the TPP and RCEP WTO and TPP TPP and TTIP are drawn from the two precedent successful free-trade experiments, the EU and NAFTA(North American Free Trade Agreement). EU originated from the European Coal and Steel Community, before developing into the Common Market and further into European Community, and finally, into the EU. 1The ‘living’, ‘evolving’ treaties and agreements of the EU very much guide the living agreement of TPP/TTIP. NAFTA originated from CUSFTA (Canada-US FTA), which was implemented in 1989, and followed by NAFTA, ratified in 1994. Both EU and NAFTA existed before the WTO finally replaced GATT at the beginning of 1995. The replacement not only greatly expanded sectoral coverage but also replaced the GATT’s quite weak dispute-settlement mechanism.2 The liberalization and integration of trade had mainly proceeded under the auspice of WTO prior to the year 2000. With the evolvement characterized by the widening of the trade agenda to include the movement of people and not just that of goods, services, investments and capital,3 international society called for an update of the WTO. Although the Doha round did inspire some discussion in 2001, developing states fundamentally refused to open their market to the services and goods of the developed ones...

Words: 7863 - Pages: 32